THE MODEL OF FAITHFULNESS FOR BUDDHIST IN SCANDINAVIA COUNTRIES
Main Article Content
Abstract
The purpose of this research was to propose a model of faithfulness for Buddhist in Scandinavian countries. Mixed methods research with 3 steps was designed which were Step 1: Study the current situation and the problem of Buddhists' faith in Scandinavia using interview 6 key informants who were selected by purposive sampling. Step 2 Developed model by focus group discussion with 17 experts with purposive sampling. Step 3 examining and presenting the Buddhist faith-building model in the Scandinavian countries. The model evaluation was assessed from a sample of 300 Buddhists in Scandinavia. Data were analyzed by using frequency, percentage, mean and standard deviation. Research results showed that a model of faithfulness for Buddhist in Scandinavian countries consisted of Part 1 introduction included 1) the environment, 2) the principles, 3) the objectives. Part 2 the model included 1) the operating system, 2) the process of building faith in 4 areas: practice routines, regular activities, practice five universal basic goodness as a habit, Knowledgeable in the dharma, self-practice and friendly. Part 3 application process included 1) structure, 2) decision, and 3) evaluation guidelines.
Article Details
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้นเพียงผู้เดียว และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์และจะแจ้งให้เจ้าของบทความทราบหลังจากผู้ประเมินบทความตรวจอ่านบทความแล้ว
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
References
เดโช แขน้ำแก้ว. (2562). พุทธศาสนาในยุโรป: ปฐมเหตุและการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. 4(2). 1-17
พระครูสังฆรักษ์สุพจน์ พฺรหฺมญาโณ (เสี่ยนดอน). (2561). รูปแบบการส่งเสริมขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของครูตามหลักพุทธบริหารการศึกษา โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา. ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาโพธิวงศาจารย์. (2558). มุมมองการพัฒนาวัดไทยในสหภาพยุโรปในปัจจุบันและอนาคต. วารสารสหภาพพระธรรมทูตไทยในทวีปยุโรป (ส.ธ.ย.). 2. 80.
มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วัดสระเกศ. (2559). ชาวไวกิ้งนับถือพระพุทธศาสนาในยุคไวกิ้ง. แหล่งที่มา https://www.watsrakesa.com/content/12077/ชาวไวกิ้งนับถือพระพุทธศาสนาในยุคไวกิ้ง สืบค้นเมื่อ 1 พ.ค. 2562
ศักดา สถาพรวจนา. (2549). การพัฒนารูปแบบมีส่วนรวมของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. ดุษฎีนิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Voice online. (2556). ทำไมสแกนดิเนเวียจึงเป็นประเทศต้นแบบของประเทศทั่วโลก. แหล่งที่มา https://www.voicetv.co.th/read/67883 สืบค้นเมื่อ 5 ม.ค. 2562