EDUCATION QUALITY ASSURANCE
Main Article Content
Abstract
This article aims to propose the subject of educational quality assurance, and to create knowledge and understanding for school administrators, teacher and educational personnel lead the practice of educational management towards desirable goals of improving educational quality of the country. At present, human resources are the most important factor in the development of the country. The quality of education therefore reflects the quality of the people who are the product of education management.Educational institutions can provide educational quality according to educational standards and achieve the goals of the agency or regulatory agency. Educational institutions must have operational processes to generate confidence, operational planning process standards are set for implementation according to planned plans and established standards. It is also reviewed to ensure that the organization's products and services satisfy to meet the specified quality standards both in terms of educational excellence and in terms of efficiency of educational system administration that all parties must help each other to develop smoothly, efficiently and effectively.
Article Details
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้นเพียงผู้เดียว และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์และจะแจ้งให้เจ้าของบทความทราบหลังจากผู้ประเมินบทความตรวจอ่านบทความแล้ว
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
References
กรมยุทธศึกษาทหารเรือ. (2564). การประกันคุณภาพภายนอก. แหล่งที่มา http://www.navedu.navy.mi.th/qedu/book59-63/manual_4-59/manual4_pdf/03-chapter_01_P1-13.pdf สืบค้นเมื่อ 23 ก.พ. 2564
กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษาพ.ศ. 2561. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ฉบับลงวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
ปรัชญา เวสารัชช์. (2545). หลักการจัดการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานปฏิรูปการศึกษา.
วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล. (2540). TQM living handbook: An Executive summary. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: บีพีอาร์แอนด์ทีคิวเอ็มคอนซัลแทนท์.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2544). แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา: เพื่อพร้อมรับการประเมินภายนอก. กรุงเทพมหานคร: สกายบุ๊คส์.
สำนักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. (2545). แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารในพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีระยะที่ 3 พ.ศ. 2545-2549. กรุงเทพมหานคร: สายธุรกิจโรงพิมพ์.
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2547). หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
Crosby, P.B. (1979). Quality Is Free: The Art of Making Quality Certain. New York: McGraw-Hill.
Dale, E. and Michelon, L.C. (1994). Managing quality. 2nd ed. New York: Prentice-Hall.
Dale, H. S. (2004). Learning theories: An educational perspective. 4nd ed. Publisher: Kevin M. Davis.
Goetsch and Davis. (1994) . Quality Management Introduction to Total Quality Management for Production, Processing, and Service. New York: Prentice Hall.
Lessinger, L. M. (1971). Accountability for Results : A Basic Challenge for American’ schools. in L.N. Lessinger and R.W. Tyler (eds.). Accountability in Education. Worthington: Charles A. Publishing.
Milliken, W.G. (1971). Making the School System Accountable. in L.N. Lessinger and R.W. Tyler (eds.) Accountability in Education. Worthington: Charles A. Publishing.
Sallis, E. (1993). Total Quality Management in Education. London: Kogan page.
W. Edwards Deming. (1986). Out of the Crisis. Massachusetts: MIT Press.