THE DEVELOPMENT OF TEAMWORK SKILL IN COOKING COURSE USING COOPERATIVE LEARNING APPROACH FOR GRADE 8 STUDENTS
Main Article Content
Abstract
The objectives of this study aims to development of teamwork skill in cooking course using cooperative learning approach for grade 8 students. The data were gathered from a classroom of 37 grade 8 students, obtained from Cluster Random Sampling. The research instruments used consisted of 1) a Cooperative Learning Approach lesson plan, 2) a learning achievement test, 3) a teamwork skill assessment, and 4) a student satisfaction questionnaire. The data were analyzed using data analysis for the purpose of the research. According to the first and the second objectives, t-test for dependent samples was used. The mean and standard deviation were used for finding the results of the third objective. The results revealed that the learning achievement of the grade 8 students after learning through Cooperative Learning Approach was higher than the achievement prior to learning through the approach with statistical significance at the .05 level. It was also found that the teamwork skills of the grade 8 students after learning through Cooperative Learning Approach were higher than the teamwork skills prior to learning through the approach with statistical significance at the .05 level. Finally, the results showed that the grade 8 students were satisfied with learning through Cooperative Learning Approach at high level.
Article Details
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้นเพียงผู้เดียว และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์และจะแจ้งให้เจ้าของบทความทราบหลังจากผู้ประเมินบทความตรวจอ่านบทความแล้ว
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
เกษศิรนิทร์ ธนะไชย. (2553). การเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การประดิษฐ์ของใช้ด้วยเศษวัสดุในท้องถิ่น กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(งานประดิษฐ์) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองแสงโคกน้อยระหว่างการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD กับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
เขมวันต์ กระดังงา. (2554). ผลการเรียนด้วยกระบวนการกลุ่มร่วมกับเว็บสนับสนุนการเรียนที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม วิชาการพัฒนาเว็บไซต์เบื้องต้น นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ชนมน ตั้งพิทักษ์ไกร. (2558). การพัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยในการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เพื่อเสริมสร้างทักษะการทำงานเป็นทีม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (การงานอาชีพ 1) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนดอนเมืองทหารอากาศบำรุง กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ณัฐวรรณ ทิพย์สูงเนิน. (2553). ผลการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานธุรกิจ) เรื่อง งานธุรกิจในชีวิตประจำวันชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ทิศนา แขมมณี. (2560). รูปแบบการเรียนการสอน ทางเลือกที่หลากหลาย. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิศนา แขมมณี. (2562). ศาสตร์การสอน. พิมพ์ครั้งที่ 23. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประภาภรณ์ พลเยี่ยม. (2560). การพัฒนาทักษะการทำงานเป็นทีมโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบจิ๊กซอว์ 2 ร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ปริญญา อันภักดี. (2558). การพัฒนาทักษะการทำงานเป็นทีม โดยจัดการเรียนริแบบโครงงานเป็นฐานผ่านสื่อสังคมออนไลน์ วิชา IPST-MicroBOX ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนชุมแพศึกษา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
วันชรัส จันทลิกา. (2554). การปฏิบัติการพัฒนาทักษะปฏิบัติ เรื่อง งานช่าง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองจำนัก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
สำนวน คุณพล. (2557). การพัฒนากระบวนการเรียนรู้โดยบูรณาการการเรียนรู้แบบร่วมมือ และการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา ในวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทาลัยรังสิต จังหวัดปทุมธานี. ดุษฎีนิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรังสิต.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2560–2579. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิก.
อรอนงค์ โฆษิตพิทัฒน์. (2560). การพัฒนาความสามารถในการทำงานเป็นทีมด้วยรูปแบบการสอนแบบร่วมมือทำงานเป็นทีมในรายวิชาสัมมนาวารสารศาสตร์. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.