CONSTRUCTION OF CONTEMPLATIVE EDUCATION ACTIVITIES TO ENHANCE THE SPIRIT OF THAI TEACHER 4.0 OF THE 1ST YEAR STUDENTS OF THE FACULTY OF EDUCATION, SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY
Main Article Content
Abstract
The objective of this research article was to create and try out contemplative education activities to strengthen the spirituality of Thai teachers 4.0. of the first year students in Faculty of Education, Suan Sunandha Rajabhat University. Quasi-experimental research was used for research design. The samples consisted of 30 first year students in the academic year 2019, Faculty of Education, Suan Sunandha Rajabhat University. They were selected by purposive sampling. The research instruments were 1) Manual of Contemplative Education Activity, and 2) the spirituality of Thai teachers 4.0 Assessment Form. One–Group Pretest- Posttest Design was used for the design. Data were analyzed by using percentage, mean, and standard deviation. The statistics used for hypothesis testing was t - test for dependent group and One-Sample t-test. Results showed that contemplative education activities consisted of 5 stages, which were Step 1: exploring mindfulness, Step 2: opening the door to thoughts, Step 3: knowledge sharing, Step 4: contemplation, Step 5: report results. Experimental results of trying out contemplative education activities indicated after the first year students have attended contemplative education activities, they have shown higher the spirituality of Thai teachers 4.0 of statistical significance at the level of .05.
Article Details
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้นเพียงผู้เดียว และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์และจะแจ้งให้เจ้าของบทความทราบหลังจากผู้ประเมินบทความตรวจอ่านบทความแล้ว
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
References
ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556. (2563). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 130 ง. หน้า 72 (4 ต.ค. 2556).
ชูชาติ พวงมาลี. (2550). คุณลักษณะของครูมืออาชีพของโรงเรียนในโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
ดุษฎี โยเหลา และคณะ. (2555). ประสบการณ์ของการเป็นครูผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู: การศึกษาเชิงปรากฏการณวิทยา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บุญชม ศรีสะอาด. (2535). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์นการพิมพ์.
ประเวศ วะสี. (2550). วิถีมนุษย์ในศตวรรษที่ 21. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: สวนเงินมีมา.
พระครูสังฆรักษ์จักรกฤษณ์ ภูริปญฺโญ, พระครูโสภณพุทธิศาสตร์, พระครูโอภาสนนทกิตติ์, สมศักดิ์ บุญปู่, พีรวัฒน์ ชัยสุข. (2562). จิตวิญญาณความเป็นครูมืออาชีพ. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 6(1). 31-37.
พระมหาวุฒิชัย (ว.วชิรเมธี). (2553). จิตวิญญาณความเป็นครู. แหล่งที่มา https://www.gotoknow.org/post/ 329230. สืบค้นเมื่อ 27 ก.พ. 2563.
วันเพ็ง ระวิพันธ์, สุทธิพงษ์ ศรีวิชัย, เกษม แสงนนท์, อำนาจ บัวศิริ. (2562). แนวทางการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการจัดการเรียนรู้ของครูตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต 2. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 6(1). 116-129.
วิจักขณ์ พานิช. (2549). การเรียนรู้ด้วยใจที่ใคร่ครวญ. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
ศูนย์จิตตปัญญาศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล. (2550). รายงานการศึกษาวิจัยพัฒนาชุดการเรียนรู้การอบรมวิทยากรกระบวนการแนวจิตตปัญญาศึกษา. นครปฐม: ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ 20 ปี. ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 135 ตอนที่ 82 ก หน้า 1. แหล่งที่มา https://www.nesdc.go.th/download/document/ SAC/NS_PlanOct2018.pdf สืบค้นเมื่อ 13 ต.ค. 2561
สุพิชญา โคทวี. (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพื่อสร้างเสริมจิตวิญญาณความเป็นครู สำหรับนักศึกษาครุศาสตร์ในสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ. ดุษฎีนิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยนเรศวร.