ENGLISH LEARNING ACTIVITIES MANAGEMENT USING SYNECTICS TECHNIQUE TO ENHANCE CREATIVITY FOR CATHATHAYOMSUKSA 1 CTUDENTS
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research article were 1) to create and validate the quality of the English lesson plan, 2) to compare the students’ learning achievement in English before and after using the English lesson plan, 3) to compare students’ creative thinking before and after using the English lesson plan, and 4) to study the satisfaction of Matthayomsuksa 1 students towards using the English lesson plan. This research was an experimental research based on one-group pretest-posttest design. The research instruments were 1) English lesson plan based on Synectics technique to support Matthayomsuksa 1 students’ creative thinking, 2) an English learning achievement test, 3) creativity test, and 4) the satisfaction questionnaires of Matthayomsuksa 1 students. Data were analyzed using descriptive statistics consisted of percentage, mean, standard deviation, and t-test for hypothesis testing. Results showed that 1) the overview assessment results of English lesson plan based on Synectics technique to support Matthayomsuksa 1 students’ creative thinking was at the most appropriateness. 2) The score of students’ learning achievement after learning the English lesson plan was higher than before at .05 level of statistical significance. 3) After using the English lesson plan, the students’ creative thinking was higher than before at .05 level of statistical significance. 4) The result of students’ satisfactory towards using the English lesson plan was at the highest level.
Article Details
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้นเพียงผู้เดียว และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์และจะแจ้งให้เจ้าของบทความทราบหลังจากผู้ประเมินบทความตรวจอ่านบทความแล้ว
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
References
กฤษณา ศิลปนรเศรษฐ์. (2553). การพัฒนาความสามารถด้านการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบซินเนคติกส์กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบแผนผังความคิด. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
กัลยา ภู่ทอง. (2554). การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจที่คงทน เรื่อง สิ่งแวดล้อมรอบตัวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
กัลยาณี ภูมิเพ็ง. (2552). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ และความคิดสร้างสรรค์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบการสอน SYNECTICS. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
จริยา แก้วศรีนวม. (2557). การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทยตามรูปแบบการเรียนการสอนแบบซินเนคติคส์เพื่อพัฒนาความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ทิศนา แขมมณี. (2547). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธีรชัย เนตรถนอมศักดิ์. (ม.ป.ป.). รูปแบบการสอนซินเนคติกส์ เอกสารการสอนวิชาการออกแบบการสอน. ขอนแก่น: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นันทิมา นาคาพงศ์. (2559). เอกสารประกอบการสอน การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้. พะเยา: วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา.
นิภาพร บุญกุศล. (2554). การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะการฟังการพูดและการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้ชุดกิจกรรมการเล่านิทานและบทบาทสมมติ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร.
ประไพทอง สิทธิพรหม. (2552). ผลการสอนภาษาอังกฤษที่เน้นกลวิธีสอนความคิดสร้างสรรค์ตามแนวคิดของวิลเลี่ยมส์ที่มีต่อความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
ประภาพร นุชอำพันธ์. (2554). การพัฒนาชุดการสอนภาษาอังกฤษ เรื่อง อาหารและสุขภาพ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. การศึกษาค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ปาริชาติ เตชะ. (2553). การพัฒนาทักษะการฟังพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้บทบาทสมมติ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พรพหัส ถิ่นรัตน์. (2557). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาระทัศนศิลป์ เรื่อง การออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์และงานกราฟิกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยรูปแบบการสอนซินเนคติคส์. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วรางคนางค์ นิ่มราศี. (2550). ผลการสอนวิชาการเขียนร้อยกรองภาษาอังกฤษเชิงสร้างสรรค์โดยใช้รูปแบบซินเนคติกส์ที่มีต่อความสามารถทางการเขียนและความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วราพร ทองจีน. (2549). การเปรียบเทียบความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ ความคิดสร้างสรรค์ทางภาษาและความเชื่อมั่นในตนเองในการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา (รูปแบบที่ 2) กับการสอนแบบเดิม. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
วาณี สุวรรณโข. (2550). การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษที่เน้นกระบวนการคิดสร้างสรรค์และทักษะทางภาษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. รายงานการวิจัยในชั้นเรียน. โรงเรียนบ้านโนนสะอาด อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น.
ศิริญาภา ทองมะหา, อินถา ศิริวรรณ, เกษม แสงนนท์, วิชชุดา หุ่นวิไล. (2562). แนวทางการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ตามหลักพหูสูต 5 ของโรงเรียนในเครือข่ายที่ 49 สำนักงานเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 6(1). 28-38.
สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์. (2542). เทคนิคการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
สาริณี สุวรรณพันธ์. (2553). การใช้กิจกรรมเพลงเพื่อส่งเสริมการออกเสียงความรู้ทางด้านคำศัพท์และไวยากรณ์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (ม.ป.ป.). คู่มือการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ตามกรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษที่เป็นสากล. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
อารีย์ พันธ์มณี. (2546). จิตวิทยาสร้างสรรค์การเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร: ใยไหมเอดดูเค.
Torrance. (1963). Education and the Creative Potential. Minneapolis : The Lund Press.