การจัดการเรียนรู้วัฏจักรการวิจัย 6 ขั้นตอน สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู สาขาการศึกษาปฐมวัย

Main Article Content

Kamolchart Klomim

บทคัดย่อ

การจัดการเรียนรู้วัฏจักรการวิจัย 6 ขั้นตอนเป็นการจัดการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติอย่างอิสระ และสรุปสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยครูทำหน้าที่เป็นผู้อำนวยความสะดวก ผู้สังเกตผู้ช่วยนักศึกษาให้คำแนะนำเท่าที่จำเป็น เพื่อให้กิจกรรมการเรียนการสอนดำเนินตามแบบวัฏจักรการเรียนรู้ ซึ่งมีขั้นตอนดำเนินการดังนี้ 1) ขั้นตั้งคำถามกับสิ่งที่อยู่ในธรรมชาติ 2) ขั้นรวบรวมความคิดและตั้งสมมติฐาน 3) ขั้นกิจกรรมการทดลอง 4) ขั้นบันทึกผลการทดลอง 5) ขั้นการสังเกตและการบรรยาย  6) ขั้นอภิปรายผลการทดลอง โดยครูจะใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นเกิดการเรียนรู้ที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไปตามสังคมปัจจุบันและความก้าวหน้าในศตวรรษที่ 21 ทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะด้านความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี และทักษะการจัดการเรียนรู้เพราะว่าการฝึกประสบการณ์ให้กับนักศึกษาวิชาชีพครูสาขาปฐมวัย สามารถนำความรู้ไปจัดการเรียนรู้วัฏจักรการวิจัย 6 ขั้นตอนเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิจารณญาณ ทักษะการแก้ปัญหาและทักษะการคิดสร้างสรรค์ให้กับนักเรียนต่อไป

 

Abstract

The Learning Management of SixResearch  cyclesis the teaching management which gives the students an opportunity to practiceindependently,tosumup,createCognitive by themselves.Inaddition,thestudents wereaccommodated,observed,assistedand advised mainly on necessities byteacherin learning activity process.Infact,thelearning cycles have six steps as follows:1)to phrase the questions 2) to compile and tohyphotesizethe ideas 3) the experimental activity step 4) to conclude the results ofthe experiment5) to observe and to explain 6) to discuss theexperimental  results.Indeed,theteacher will stimulate the learners instartinglearn by using problems.These problems could encourage the learners 

having skills,the hamonious capability in need changing in the current society and progressing in the 21st century.Thus,these processes cause the learners having the knowledge skills,cognitive skill,personal relation skill,responsible skill,numberical analyzing skill,communicative skill,the using skill of technology,and the learning management skill.To sum up,the field experiences were taught by teacher students in early childhood education.The students are able to manage their knowledge with the six learning research cycles for encouranging a reasonably wise thought skill,solving the problems skill,and creating the thought skill to the learners here after.

Article Details

บท
บทความปริทัศน์ (Review Article)

References

เอกสารอ้างอิง

ชนัญณิชา เกศาพันธ์และหล้า ภวภูตานนท์.(2558).การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์โดยใช้เทคนิคระดมสมองที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1.วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,38(2),36-37.

ทวีป แซ่ฉิน.(2556).การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี Constructionism เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนโปรแกรมด้วยโปรแกรม App inventor สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย.(วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยนเรศวร).

วายุ กาญจนศร ธนากร ศรีชาพันธุ์ และ โรจพล บูรณรักษ์.(2559).ผลของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือต่อทักษะการเล่นตะกร้อด้วยข้างเท้าด้านในและความพึงพอใจ ของนักศึกษาสาขาพลศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,39(4),79-80

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2560).แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 : พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ:บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.(2560).แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบสอง (พ.ศ.2560-2564).กรุงเทพฯ:สำนักนายกรัฐมนตรี.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2559).การออกแบบที่แตกต่างเพื่อกระตุ้นทักษะการสังเกตในระดับปฐมวัย.นิตยสาร,44(201),15-19.

Nelson,D.L.,& Quick,J.C.(2000 ).Organization.Behavior.New York:Harper and Row.

Shenker,J.I.;Goss,S.A.;&Bernstein, D.A.(1996).Instructor ’s Resource Manual for Psychology : Implementing Active Learning in the Classroom.Retrieved September 22,2011,from http://s.psych/uiuc,edu/jskenker/active.html.

Sheffield Hallam University.(2000).Active Teaching and Learning Approaches in Science : Workshop ORIC Bangkok.Photocopied.