แนวทางการพัฒนาครูในสถาบันอาชีวศึกษา นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

Main Article Content

คำอุทร พิลาวรรณ์
เสาวนี สิริสุขศิลป์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive research) โดยผู้วิจัยได้แบ่งการดำเนินการออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้ การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการพัฒนาครู ในสถาบันอาชีวศึกษานครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 20 คน เป็นครู จำนวน 320 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 340 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย ด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรม สำเร็จรูป เพื่อหาค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย (\dpi{100} \bar{X}) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาครูในสถาบันอาชีวศึกษานครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) และสรุปโดยการจัดลำดับประเด็นความสำคัญ

ผลการวิจัยพบว่า

1. สภาพปัจจุบัน พบว่าโดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมาก ที่สุด คือ ด้านความสามารถทางด้านการเป็นแบบอย่างทีดี ในขณะที่ด้านความสามารถการดูแลและช่วยเหลือผู้เรียน มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด และสภาพปัญหาผลการวิจัย พบว่าผู้บริหารและครูมีความคิดเห็นโดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความสามารถการดูแลช่วยเหลือ ผู้เรียน

2. แนวทางการพัฒนาครูในสถาบันอาชีวศึกษาพบว่า1) ด้านความสามารถการเป็นแบบอย่างที่ดี ที่ครูควร ฝึกฝนตนเองไฝ่รู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียน มีสติต่อส่วนรวม ปฎิบัติหน้าที่อย่างเตัมความสามารถ 2)ด้านความสามารถการ ดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่ ครูควร ศึกษาแนวคิดและ สร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียน มีความกระตือรือล้นต่อการเรียน ให้คำปรึกษาและ ชี้แนะต่อผู้เรียนทุกด้าน 3) ด้านความสามารถการจัดการเรียนรู้ ที่ครูควรศึกษาหลักสูตร เพื่อรู้และเข้าใจในสิ่งที่ ตนต้องสอนอย่างชัดเจน 4) ด้านความสามารถประเมินผล ครูควรประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริงยุติธรรมโปรงใสและ ตรวจสอบได้ด้วยหลายวิธี และ เหมาะสม 5) ด้านความสามารถการสร้างนวัตกรรมและการพัฒนาตนเองครูควรศึกษาหาความรู้ใหม่ๆ เพื่อพัฒนาตนเองตลอดเวลา6) ข้อเสนอแนะเพีมเติมอื่นๆรัฐบาลควรสนับสนุนงบ ประมาณให้ครูไปฝึกอบรม เรียนต่อวิชาครู วิชาเฉพาะด้าน ดูงาน แลกเปลียนประสบการณ์ในสถานศึกษาสถาน ประกอบการ ทั้งภายในและต่างประเทศ

 

Guidelines For Teacher Development at Vientiane Capital Vocational Institute in Lao People’s Democratic Republicg

Khamouthone Philavanh 1) and Dr. Saowanee Sirisooksilp 2)

1) Department of Educational Administration, Faculty of Education, Khon Kaen University

2) Assistant Professor, Department of Educational Administration, Faculty of Education, Khon Kaen University

This research is descriptive research in which the researcher divided in to 2 phases and conducted as follow: The Data Collection of this research was to study the condition, problems in Teacher Development at Vientiane Capital Vocational Institute in Lao People’s Democratic Republic. The sample consisted of 20 school administrators, and 340 teachers for a total of 340. Questionnaires were used to collect the five rating scale and The research statistics was applied for mean (\dpi{100} \bar{X}) and standard deviation (S.D.) and The Data Collection of this phase was to suggest guidelines for Teacher Development at Vocational Institute. Content analysis was applied for the data and report in by prioritizing important issues.

The findings were:

1. Present condition, problems in Teacher Development were found that the overall had the average in high level. Considering each aspect found that the most average aspect was the ability to be a good role model. The ability to supervise and assist students was in the lowest average. For problem condition it was found that the administrators and teachers, in overall, perceived as moderate average. Considering in each aspect, it was found that the ability to take care and support students had the highest average.

2. Guidelines for Teacher Development as follow

The ability to be a good role model, 1) teachers trained themselves to be longing for knowledge in order to develop students. Teachers also had collective consciousness, and they could perform their duties with all of their performance. 2) The ability to take care and support students; teachers should study the concept and create motivation for the students for they would be eager to study. The teachers were to give counseling and advice to students in all aspects. 3) The ability to provide learning; teachers should study the curriculum in order to know and understand what they needed to teach clearly. 4) The ability to evaluate; teachers should assess students based on reality, justice, transparency and accountability with appropriate ways, and 5) the ability to create innovation and personal development; teachers should find new ways to improve themselves constantly. 6) Further recommendation; the government should support budget for teacher training in pedagogy, specific course work, study tour and exchange of experiences in educational institute, establishment both domestic and

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)