โปรแกรมการพัฒนาทักษะด้านการสร้างบทเรียนด้วยเทคโนโลยี สำหรับครูการศึกษาพิเศษ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1. สร้างและตรวจสอบคุณภาพโปรแกรมการพัฒนาทักษะด้านการสร้างบทเรียนด้วยเทคโนโลยี สำหรับครูการศึกษาพิเศษ และ 2. ทดลองใช้โปรแกรมการพัฒนาทักษะด้านการสร้างบทเรียนด้วยเทคโนโลยี สำหรับครูการศึกษาพิเศษ กลุ่มตัวอย่างเป็นครูการศึกษาพิเศษ ในเขตจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบทีแบบไม่อิสระ
ผลการศึกษา สรุปได้ดังนี้ 1. ผลการสร้างและตรวจสอบคุณภาพโปรแกรมฯ พบว่า โปรแกรมฯ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ หลักการ วัตถุประสงค์ โครงสร้างเนื้อหา วิธีการสอน และการวัดและประเมินผล โดยใช้แนวคิดการเรียนรู้เชิงรุก ซึ่งผลการประเมินความเหมาะสมของโปรแกรมฯ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน พบว่า มีระดับความเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด 2. ผลการทดลองใช้โปรแกรมฯ พบว่า 1) ทักษะด้านการสร้างบทเรียนด้วยเทคโนโลยี สำหรับครูการศึกษาพิเศษ หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลการศึกษาความพึงพอใจของครูการศึกษาพิเศษที่มีต่อโปรแกรมฯ พบว่า มีระดับความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สุด
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กาญจนา บุญภักดิ์. (2563). บทความปริทัศน์ เรื่อง การจัดการเรียนรู้ยุค New Normal. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 19(2), A1-A6.
เก็จกนก เอื้อวงศ์ และคณะ. (2564). รูปแบบการจัดการเรียนรู้สำหรับ นักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด–19 (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
เตชินี ภิรมย์. (2560). การศึกษาและพัฒนาบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Moodle เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21. กรณีศึกษา: โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม จ.กระบี่. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
ธานี สุขโชโต และวรกฤต เถื่อนช้าง. (2563). การดูแลช่วยเหลือนักเรียนและการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์โควิด 19. บัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์, 8(2), 143-154.
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). หลักการวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: สุวิริยาสาส์น.
บุญทิพย์ สิริธรังศรี. (2563). การจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู่กรอบมาตรฐานวิชาชีพการสอนและสนับสนุนการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา. The Journal of Chulabhorn Royal Academy, 2(3), 1-17.
บุญล้อม ด้วงวิเศษ. (2557). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการศึกษาแบบเรียนรวม. กำแพงเพชร: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
ปิยธันว์ เบญจเทพรัศมี. (2560). การพัฒนาหลักสูตรเสริมสมรรถนะภาพการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน สำหรับครู คอมพิวเตอร์ เพื่อส่งเสริมการรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของนักเรียนระดับประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.
มนธิชา ทองหัตถา. (2564). สภาพการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารลวะศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี, 5(1), 43-51.
มาเรียม นิลพันธุ์. (2558). วิธีวิจัยทางการศึกษา. นครปฐม: ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
รัตนะ บัวสนธ์. (2565). การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษา. กรุงเทพฯ: คำสมัย.
วารีรัตน์ แก้วอุไร. (2564). การพัฒนาหลักสูตรจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร. ศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2563). แนวทางการจัดการเรียนการสอน ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศึกษา 2563. ค้นเมื่อ 22 มกราคม 2565, จาก https://covid19.obec.go.th/.
สุวิมล มธุรส. (2564). การจัดการศึกษาในระบบออนไลน์ในยุค NEW NORMAL COVID-19. วารสารรัชต์ภาคย์, 15(40), 33 - 42.
อรอุมา รุ่งเรืองวณิชกุล. (2556). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะครูนักวิจัย ด้วยการบูรณาการกระบวนการเรียนรู้ สำหรับข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา เขต 2. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อรอุรา สุขแปดริ้ว. (2554). ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือเทคนิคกลุ่ม ผลสัมฤทธิ์ที่มีต่อผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ และพฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
อัสรี สะอีดี. (2561). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะของครูพลศึกษาในศตวรรษที่ 21 โดยประยุกต์ใช้การอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ร่วมกับการสอนแบบเสริมศักยภาพ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อิสริญญา ฉิมพลี. (2560). การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรครูโรงเรียนในสังกัดเมืองพัทยา ด้านการวิจัยด้วยกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม. วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยวัดผลและสถิติการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.
เอกลักษณ์ บุญท้าว. (2556). รูปแบบการพัฒนาครูด้านการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การประถมศึกษามหาสารคามเขต 2. วิทยานิพนธ์ ครุศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารจัดการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
Alibak, M., Talebi, H., & Neshatdoost, H. (2019). Development and Validation of a Test Anxiety Inventory for Online Learning Students. Journal of Educators Online, 16(2), 5-12.
Baldwin, Jill.; & Williams, Hank. (1988). Active Learning: a Trainer’s Guide. England: Blackwell Education.
Care, E. (2018). Twenty-first century skills: From theory to action. In E. Care, P. Griffin & M. Wilson (Eds.). Assessment and Teaching of 21st Century Skills: Research and Applications. Cham: Springer.
Ornstein,A.G. and Hunkins, F.P. (2004). Curriculum foundation, principles and issuses. New York: Pearson Education.
Taba, H. (1962). Curriculum Development Theory and Practice. New York: Harcourt, Brace and World.
Tyler, Ralph W. (2006). The Steps of Curriculum Development. Retrieved January 22, 2022, from www.triangcle.co.uk/pdf/validate asp?.