การพัฒนานวัตกรรรมแบบวัดความจำผัสสะด้านการได้ยิน สำหรับเด็กปกติ

Main Article Content

ศานิตย์ ศรีคุณ
https://orcid.org/0000-0002-7629-5488
ชินวัฒน์ ภาคสุโพธิ์

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานวัตกรรมแบบวัดความจำผัสสะด้านการฟังเสียง สำหรับเด็กปกติ
โดยใช้การวิจัยเชิงพัฒนา ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้นวัตกรรมแบบวัดความจำผัสสะด้านการฟังเสียง สำหรับเด็กปกติ
จำนวน 4 แบบทดสอบ ได้แก่ 1) แบบวัดการได้ยินตัวเลข 2) แบบวัดการได้ยินตัวอักษร 3) แบบวัดการได้ยินคำ และ
4) แบบวัดการได้ยินคำไม่มีความหมาย กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 127 คน ผลการศึกษาพบว่า
(1) นวัตกรรมแบบวัดความจำผัสสะด้านการฟังเสียง ประกอบด้วย 4 แบบทดสอบ โดยที่แต่ละแบบทดสอบมีสิ่งเร้าเป็นเสียงของตัวเลข ตัวอักษรภาษาไทย คำภาษาไทย และคำไม่มีความหมาย ซึ่งวัดได้ทั้งมิติความถูกต้องและมิติเวลาและมีความความสอดคล้องกับกรอบทฤษฎีและมีความตรงเชิงเนื้อหา (2) ผลคะแนนเฉลี่ยและเวลาเฉลี่ยแต่ละแบบทดสอบคือ 29.66, 27.37, 29.56, และ 24.00 คะแนน ตามลำดับ และ และ 250.82, 248.34, 242.23 และ 256.23 วินาที ตามลำดับ
(3) ผลระดับความพึงพอใจของการใช้นวัตกรรมแบบวัดความจำผัสสะด้านการฟังเสียงอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

ทัศนีย์ บุญเติม, จตุภูมิ เขตจัตุรัส, จักรกฤษณ์ สําราญใจ, จุติมา เมทนีธร, จินตนาภรณ์ วัฒนธร, สถภาพร มัชฌิมะปุระ และคณะ. (2557). การพัฒนาเครื่องมือวัดทางพุทธิปัญญา (ฉบับภาษาไทย). กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

ศานิตย์ ศรีคุณ. (2562). การตรวจสอบความตรงเชิงทฤษฎีของซอฟต์แวร์แบบวัดความสามารถเชิงพุทธิปัญญาในมิติความถูกต้อง. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนก่น, 42(4), 103-117.

ศานิตย์ ศรีคุณ. (2563). การตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของซอฟต์แวร์แบบวัดความสามารถเชิงพุทธิปัญญา ในมิติเวลาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 12(3), 229 - 243.

Alamargot, D., Lambert, E., Thebault, C., & Dansac, C. (2007). Text composition by deaf and hearing middle-school students: The role of working memory. Reading and Writing, 20(4), 333 - 360.

Andersson, U., & Lyxell, B. (2007). Working memory deficit in children with mathematical difficulties: A general or specific deficit?. Journal of Experimental Child Psychology, 96(3), 197 - 228.

Baddeley, Alan. (2003). Working memory: looking back and looking forward. Nature Reviews Neuroscience, 4, 829 - 839.

Colom, R., Abad F. J., Rebollo I. & Chun Shih, P. (2005). Memory span and general intelligence: A latent-variable approach. Intelligence, 33(6), 623 - 642.

Isaki, E., Spaulding T. J., & Plante E. (2008). Contributions of language and memory demands to verbal memory performance in language-learning disabilities. Journal of Communication Disorders,

(6), 512 - 530.

Sousa, D. (2006). How the Brain Learns 3rd Edition. CA: Corwin Press, Thousand Oaks.

Spapé, M., Verdonschot, R. G., & Steenbergen, V. H. (2014). The E-Primer: An Introduction to Creating Psychological Experiments in E-Prime. Netherlands: Leiden University Press.

Sweatt J. David. (2003). Mechanisms of Memory: Introduction the Basic of Psychological Learning and Memory Theory. United Kingdom: Elsevier.

Wager, T.D., & Smith E. E. (2003). Neuroimaging studies of working memory: A meta-analysis. Cognitive, Affective, & Behavioral Neuroscience, 3(4), 255 - 274.