การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะ การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติมสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

Main Article Content

ธีระสันต์ ช่วยรักษา

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ 2) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์  3) ศึกษาผลการนำไปใช้ของรูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ และ 4) ประเมินและรับรองรูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างในการทดลองใช้รูปแบบ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม จำนวน 32 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ 1) รูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 3) แบบสัมภาษณ์ 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5) แบบทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 6) แบบสอบถามเจตคติ และ 7) แบบประเมินและรับรองรูปแบบ สถิติที่ใช้ คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1. ครูควรปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด และที่ครูปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลาง 2. รูปแบบประกอบด้วย หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการเรียนการสอนและประเมินผล 3. ผลการใช้รูปแบบ ปรากฏผล ดังนี้ 1) (E1)/ (E2) = 87.90/83.33  2) ค่า E.I.       = 0.7460 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  4) ทักษะการแก้ปัญหาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5) เจตคติของนักเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด 4. ผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหงประเทศไทย.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กุลยา ตันติผลาชีวะ.(2558). “การเรียนรู้แบบเน้นปัญหาเป็นฐาน,” ใน สารานุกรมศึกษาศาสตร์. ฉบับที่ 34. หน้า 77-84. กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

แคทรียา มุขมาลี.(2557). การศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง อาหารกับการดำรงชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ชูชีพ ออนโคกสูง. (2550). จิตวิทยศัพท์. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทองจันทร์ หงส์ลดารมภ์. (2547). การเรียนการสอนที่ใช้ปัญหาเป็นหลัก. ภูเก็ต : ม.ป.พ..

ทองจันทร์ หงส์ลดารมภ์. (2553). “การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem Based Learning),” ข่าวสารกองบริการ การศึกษา, 6(58), 5-25.

ธนวัฒน์ สุวรรณจรัส. (2551). PBL เบื้องต้น (Introducing PBL). กรุงเทพฯ: ฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2553). การวัดเจตคติ. อุบลราชธานี: วิทยาออฟเซท.

นันทา สูรักษา. (2554). เอกสารประกอบการสอนวิชาจิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2540). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : ทำปกเจริญผล.

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2558). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

ผุสดี ตามไท. (2551). “โฉมใหมของหลักสูตรวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น,” วารสารสถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 23(18), 1.

ไพรรัตน์ จันทร์ประทัด. (2555). การพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 วิชาฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้าสถิต ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยผสานแนวคิดทฤษฎีพหุปัญญา กับการใช้ ปัญหาเป็นฐาน . วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ภพ เลาหไพบูลย์. (2552). แนวการสอนวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรังปรุง). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

มัณฑรา ธรรมบุศย์. (2555). “การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้โดยใช้ PBL (Problem-Based Learning),” วิชาการ, 5(2), 11-17.

ยุทธชัย ไชยคำภา. (2557). การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง วงกลม เพื่อเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและความสามารถการให้เหตุผลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยผสานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับแนวคิดการใช้ปัญหาเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

รัชกร ประสีระเตสัง. (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้เพื่อการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ สําหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

รัชนีกร หงส์พนัส. (2557). “การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน : ความหมายสู่การเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม,” มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 26, 44-53.

รัตนะ บัวสนธ์. (2555). วิธีการเชิงผสมผสานสำหรับการวิจัยและประเมิน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รัตนะ บัวสนธ์. (2553). “วิธีการวิจัยและประเมินเชิงผสมผสาน,” แบบแผนการวิจัยแบบผสานวิธี. จาก http://www.rattanabb.com>วันที่ 2 มิถุนายน 2555.

ลําไพร กวีกรณ์. (2558). การพัฒนาการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. การศึกษาค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2558). เทคนิคการวิจัยเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

วาสนา กิ่มเทิ้ง. (2553). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem – Based Learning) ที่มีต่อ ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ และความใฝ่รู้ใฝ่เรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2555). วิธีวิทยาการวิจัยแบบผสม : กระบวนทัศน์ใหม่สำหรับการวิจัยทางการบริหารการศึกษา. ขอนแก่น: อักษราพิพัฒน์.

วัลลี สัตยาศัย. (2557). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก รูปแบบการเรียนรู้โดยผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ: บุ๊คเน็ท.

วรรณทิพา รอดแรงคา. (2555). Constructivism. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ศิขรินทร์ธาร โคตรสิงห์.(2555). การพัฒนารูปแบบการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็¬นฐาน เพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดแก้ปัญหา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 : การวิจัยแบบผสานวิธี. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สมนึก ภัททิยธนี. (2553). พื้นฐานการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.

สุปรียา วงษ์ตระหงาน. (2556). “การจัดการเรียนการสอนที่ใช้ปัญหาเป็นหลัก,” ข่าวสารกองบริการการศึกษา.

สุพล วังสินธ์. (2555). “วิธีสอนแบบแก้ปัญหา : การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน,” วิทยาจารย์, 105(7), 56-59.

สุรางค์ โควตระกูล. (2555). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิทย์ มูลคำ. (2555). ยุทธศาสตร์การคิดแก้ปัญหา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). การวิเคราะห์คะแนนและคุณภาพของแบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2553-2554. ค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2554, จาก http://www.niets.or.th/examweb/frlogin.aspx

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2553). คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2556). คู่มือวัดประเมินผลวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน. กรุงเทพฯ: ชุมนุมการเกษตรแห่งประเทศไทย.

อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย.(2543). การคิดอย่างมีวิจารณญาณ : การเรียนการสอนทางพยาบาลศาสตร์. กรุงเทพฯ: ธนาเพรส แอนด์ กราฟฟิค.

Akcay, B. (2009). Problem-Based Learning in Science Education. Retrived July 7, 2021, from http://www.tused.org

Ausubel, D. P. (1968). Education Psychology : A Cognitive View. New York : Holt Rinehart and Winston. Inc,

Barrows, H., and R. Tamblyn. (1980). Problem-based Learning : An Approach to Medical Education. New York: Springer.

Barell, J. (1998). PBL an Inquiry Approach. Illinois: Skylight Training and Publishing Inc.

Bloom, B. S. (1956). Taxonomy of Education Objective Handbook l : Cognitive Domain. New York : David Mackey Company, Inc.

Brears, L., MacIntyre, B. and O’Sullivan, G. (2011). “Preparing Teachers for the 21stCentury Using PBL as an Integrating Strategy in Science and Technology Education,” Design and Technology Education : An International Journal, 16(1), 36-44. http://www.ojs.lboro.ac.uk/ojs/index.php/DATE/article/.../1588

Candy, P. C. (1991). Self-Direction for Lifelong Learning : A Comprehensive Guide to Theory and Practice. San Francisco, California: Jossey-Bass.

Charles, R., Lester F., and O’Daffer P. (1987). How to Evaluate Progress in Problem Solving. Reston, Virginia : National Council of Teacher of Mathematics.

Cunningham, W. G., and Paula A Cordeiro. (2003). Educational Leadership a Problem-Based Approach. 2nd ed. New York : Pearson Education.

Creswell, J. W., and Plano Clark V. L. (2007). Designing and Conducting Mixed Methods Research. Thousand Oaks, CA: Sage.

Delisle, R. (1997). How to use Problem-Based Learning in the Classroom. Alexandria, Virginia : Association for Supervision and Curriculum Development.

Duch, B. J. (1995). “About teaching,” retrieved August 1, 2012, from http://www.ude.edu/pbl/cte/jan 95-what.htm

Dewey, J. (1993). How to Think. Boston : D. C.Health Company.

Edens, K. M. (2000). “Preparing Problem Solvers for the 21st Century through Problem-Based Learning,” College Teaching. 48(2), 55-60,

Eggen, P. D., and Kuachak, D.P. (2001). Strategies for teacher : Teaching Content and Thinking Skill. 4th ed. Needham : A Peason Education.

Gallagher, S. A. (1997). “Problem-Based Learning : Where did it come from, What does it do, and Where is it going?,” Journal for the Education of theGifted.

Gardner, P. L. (1975). “Attitudes to Science ; A Review,” Studies in Science Education. 2, 1–41,

Good, C. V. (1973). Dictionary of Education. S.l. ;s.n..

Guilford, J. P., and Ralph, H. (1971). The Analysis of Intelligence. New York : McGraw – Hill.

Hergenhahn, B. R. (1994). An Introduction to Theories of Personalit. Englewood Cliffs : Prentice-Hall.

Hmelo, C. E., and Evensen, D.H.. (2000). Introduction Problem-Based Learning : Gaining Insights on Learning Interactions Through Multiple Methods of Inquiry. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.

Johnson, R. B., and Onwuegbuzie, A. J. (2006). “Mixed Methods Research: A Research Paradigm Whose Time Has Come,” Mixed Methods. 2, 25-52,

Joyce, B., and M. Weil. (1992). Model of Teaching. Englewood Cliffs, N.J. : Prentice Hall.

Judge, S. K., Osman K., and Yassin, S. F. M.. (2011). “Cultivating Communication Through PBL with ICT,” Procedia Social and Behavioral Sciences. 15, 1546–1550. Retrived June 17, 2022, http://www.sciencedirect.com/science/.../S187704281100507

Lefton, L.A. (1997). Psychology. 6th ed. Boston : Allyn and Bacon.

Linda, T. and S. Sara. (1998). Problem as Possibilities : Problem-Based Learning for K-12. Alexandria : Association for Supervision and Curriculum Development.

Paul, R. W. (1984). “Critical Thinking : Fundamental to Education for a Free Society. Educational Leadership,” Journal Articles ; Opinion Papers, 42(1), 4-14. Retrieved September 10, 2021, from http://www.ric.ed.gov/ERICWebPortal/recordDetail

Robbin, S. P. (1993). Organizational Behavior. 6th ed. Englewood Cliffs, New Jersey : A Simon of Schuster.

Saylor, J. G. et al. (1981). Curriculum Planning for Better Teaching and Learning. 4th ed. Japan : Holt/Saunders International Edition.

Schmidt, H. G. (1983). “Problem-Based Learning: Rationale and Description”. Medical Education. 17 (January 1983), 11-16.

Teddlie, C., and Abbas. Tashakkori. (2003). Handbook of Mixed Methods in Social & Behavioral Research. California: Sage. Retrived September 10, 2012, from http://www.books.google.co.th/books?isbn

Weir, J. J. (1974). “Problem Solving is Everybody’s Problem,” Science Teacher, 41, 16-18.

Zhang, X. 2002. “The Combination of Traditional Teaching Method and Problem-Based Learning,” The China Papers, 1, 30-36. Retrieved September 10, 2012, from http://www.sydney.edu.au/science/uniserve.../china/.../xiuping.pdf