การพัฒนาความสามารถในการรู้เรื่องการอ่านตามแนวทางการสอบแบบ PISA โดยใช้แนวคิด การอ่านจากต้นแบบของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

Main Article Content

ทัศนีย์ เศรษฐพงษ์
วิภาวรรณ เอกวรรณัง

บทคัดย่อ

ผลการวิจัย พบว่า 1. รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีหลักการสำคัญของรูปแบบ
การเรียนการสอน 4 ประการดังนี้  1) การเรียนรู้จากต้นแบบ 2) การใช้กลวิธีการอ่าน 3) การเชื่อมโยงความสัมพันธ์  4) การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ซึ่งมีขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนตามรูปแบบการเรียนการสอน แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นการกระตุ้นความรู้เดิมและฝึกอ่านตามต้นแบบ
2) ขั้นการวิเคราะห์โครงสร้างบทอ่าน 3) ขั้นการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ 4) ขั้นการมีปฏิสัมพันธ์
2.ประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอน ผลจากการทดลองใช้ พบว่า 2.1) กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการรู้เรื่องการอ่านตามแนวทางการสอบแบบ PISA สูงกว่าก่อนการทดลอง
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2) กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยพัฒนาการความสามารถในการรู้เรื่องการอ่านเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 24.89, 31.23, 32.5, 35.18, 36.73 และ 38.1

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง การเตรียมความพร้อมสำหรับการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA) ปี ๒๐๑๘. ค้นเมื่อ 1 มกราคม 2560, จาก http://bet.obec.go.th/index/wp-content/uploads/2017/11/Post-pisa.pdf

จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสำราญ. (2551). ภาษากับการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: พี เพรส.

ทัศนีย์ เศรษฐพงษ์. (2560). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการอ่านจากต้นแบบและกลวิธีผังสัมพันธ์ของความหมายเพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิศนา แขมมณี. (2554). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิวกานท์ ปทุมสูติ. (2554). เด็กอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้แก้ง่ายนิดเดียว. กรุงเทพฯ: นวสาส์นการพิมพ์.

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2558). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. ค้นเมื่อ 1 มกราคม 2560, จาก http//www.niets.or.th.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). ผลการประเมิน PISA 2015 การอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

สันติวัฒน์ จันทร์ใด. (2560). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวการสอนประสบการณ์

การอ่านแบบเสริมต่อการเรียนรู้และการเรียนรู้แบบกำกับตนเองเพื่อส่งเสริมการรู้เรื่องการอ่านของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). สำรวจการอ่านหนังสือของประชากร ปี 2555. ค้นเมื่อ 1 มกราคม 2560, จาก http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/readingRep56.pdf

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2558). การสำรวจการอ่านของประชากร พ.ศ. 2558. ค้นเมื่อ 10 มกราคม 2560, จาก http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/read_Pocket 54.pdf

Bandura, A. (1986). Social Foundations of Thought and Action: A Social Cognitive Theory. NJ: Prentice Hall.

Braunger, J., Donahue, D. M., Evans, K., & Galguera, T. (2005). Rethinking Preparation for Content-Area Teaching: The Reading Apprenticeship Approach. San Francisco: Jossey-Bass.

Chall, J. S., & Curtis, M. E. (2003). Children with reading Difficulties. Handbook of Research on Teaching English Language Arts. NJ: Erlbaum.

Greenleaf, C. L., Litman, C., Hanson, T. L., Rosen, R., Boscardin, C. K., Herman, J., & Jones, B. (2011). Integrating literacy and science in biology: Teaching and learning impacts of reading apprenticeship professional development. American Educational Research Journal, 48(3), 647-717.

Lowery, D. C. (2010). A Comparison of The Effects of Instruction Using Traditional Methods to Instruction Using Reading Apprenticeship. Doctoral dissertation. Education in Secondary Education in the Department of Curriculum, Instruction, and Special Education Mississippi State, Mississippi.

Matz, D. S. (2012). Reading apprenticeship classrooms: effectiveness of

Teacher think-alouds to increase the metacognition of 7™ grade social studies students. Doctoral dissertation, Faculty of the School of Human Service Professions, Widener University.

Mehdian, N. (2009). Teacher’s role in the reading apprenticeship framework: Aid by the side or sage by the stage. English Language Teaching, 2(1), 3-12.

OECD. (2010). PISA 2009 Results: What Students Know and Can Do – Student Performance in Reading, Mathematics and Science. Retrieved March 12, 2014, from http://dx.doi.org/10.1787/9789264091450-en

Perfetti, C. A., & Marron, M. A. (1998). Learning to read: Literacy acquisition by children and adults. Retrieved March 15, 2016, from http://files.eric.ed.gov/fulltext/ED396155.pdf

Sipe, K. L. (2006). Reading Apprenticeship Training: Implementation of Reading Instruction in Secondary Content Specific Courses. Doctor of Education, Immaculata University, Pennsylvania.

Smith, P. R. (2009). The Effects Of Reading Apprenticeship on Junior College Students' Metacognitive Awareness and Comprehension of Academic Texts. Doctoral dissertation, The Universityof Southern Mississippi.

Troike, M. S. (2012). Introducing second Language Acquisition. New York: United States of America by Cambridge University Press.

Vygotsky, L. S. (1986). Thought and language. MA: MITPress.

Wilhelm, J. D. (2000). The enemy is orthodoxy!. Voices from the Middle, 8(2), 60.