การประยุกต์ใช้แนวคิดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับการเรียนแบบเชิงรุก ในรายวิชาการประถมศึกษา เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้นำแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน ซึ่งเป็นแนวคิดการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มคอนสตรัคติวิสท์แบบพหุวิทยาการที่อาศัยกระบวนการเรียนรู้แบบสืบสอบโดยใช้ปัญหาเป็นฐานมาประยุกต์ใช้ร่วมกับการเรียนแบบเชิงรุก ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาการประถมศึกษาเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนิสิตปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ลงทะเบียนเรียน ในภาคต้น ปีการศึกษา 2561 จำนวน 27 คน ผลการวิจัยพบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจำนวน 7 แผน มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก และเมื่อนำไปทดลองใช้แล้วปรากฏว่า นิสิตมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในระดับดีมาก และนิสิตมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในระดับมากที่สุด
Article Details
References
กมลฉัตร กล่อมอิ่ม. (2561). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้เชิงรุกบูรณาการศาสตร์พระราชากับการจัดการเรียนรู้แบบปกติเพื่อเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหาและทักษะการเรียนรู้เป็นทีม สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูสาขาการศึกษาปฐมวัย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 41(4), 99-115.
เกริก ศักดิ์สุภาพ. (2561). การใช้คาฮูทตั้งคำถามในวิชาวิทยาศาสตร์. วารสารศึกษาศาสตร์, 29(2), 1-11.
ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์.
นวพร ชลารักษ์. (2558). บทบาทของครูกับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 9(1), 64-71.
น้ำทิพย์ ตระกูลเมฆี. (2561). การศึกษาปัจจัยการรับรู้ที่มีผลต่อการยอมรับการใช้ Kahoot ในการวัดประเมินผลระหว่างเรียน. วารสารวิจัยทางการศึกษา, 13(1), 116-127.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ. (2551). การเรียนเชิงรุก (Active Learning). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พงศธร มหาวิจิตร. (2560). นวัตกรรมการเรียนรู้จากฟินแลนด์. นิตยสาร สสวท., 45(209), 40-45.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ตถาตา พับลิเคชั่น.
วิจารณ์ พานิช. (2556ก). การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสยามกัมมาจล.
วิจารณ์ พานิช. (2556ข). สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสยามกัมมาจล.
วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2558). การโค้ชเพื่อการรู้คิด. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์.
อรนุช ลิมตศิริ. (2556). หลักสูตรและการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อรพรรณ บุตรกตัญญู. (2561). การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อการสร้างมุมมองแบบองค์รวมและการเข้าถึงโลกแห่งความจริงของผู้เรียน. วารสารครุศาสตร์, 46(2), 348-365.
Daehler, K., & Folsom, J. (2016). Making Sense of Science: Phenomena-based Learning. Retrieved October 5, 2016, from http://www.WestEd.org/mss
Dewey J. (1963). Experience and Education. London, England: Collier Macmillan.
Karlsson, P. (2017). Teachers’ Perspectives on The National Core Curriculum of Basic Education 2016- Finding Leverage in Supporting Upper-comprehensive School Teachers with Phenomenon-based Learning and Co-design. Master Thesis (Creative Sustainability): Aalto University.
Nielsen,V., & Davies, A. (n.d.). The What, Why and How of Phenomenon Based Learning. Retrieved January 14, 2019, from https://www.rubicon.com/ phenomenon-based-learning/
Settle, B. (2011). From theories to Queries: Active learning in Practice. In Guyon, G., Cawley, G., Dror, V., Lemaire, A., & Statnikov (Eds.), Workshop and Conference Proceedings, 16, 1-18.
Silander, P. (2015a). Digital Pedagogy. In Mattila, P., & Silander, P. (Eds.), How to Create the School of the Future: Revolutionary Thinking and Design from Finland. (pp. 9-26). Oulu: University of Oulu, Center for Internet Excellence.
Silander, P. (2015b). Phenomenon Based Learning. Retrieved May 5, 2017, from http://www.phenomenaleducation.info/phenomenon-based-learning.html
Symeonidis, V., & Schwarz, J. F. (2016). Phenomenon-Based Teaching and Learning through the Pedagogical Lenses of Phenomenology: The Recent Curriculum Reform in Finland. Forum Oś wiatowe, 28(2), 31-47.
The Partnership for 21st Century Learning. (2009). Framework for 21st Century Learning. Retrieved October 12, 2017, from http://www.p21.org/our-work/p21-framework
Twig Education. (2018). What is Phenomena-based Learning?. Retrieved January 4, 2019, from http://twigeducation.com/blog/what-is-phenomena-based-learning/
Zhukov, T. (2015). Phenomenon-based Learning: What is PBL?. Retrieved July 5, 2016, from https://www.noodle.com/articles/phenomenon-based-learning-what-is-pbl