การคิดเชิงออกแบบบนฐานทุนชุมชนเมืองเพื่อการพัฒนา สัมมาชีพที่ยั่งยืน
คำสำคัญ:
การคิดเชิงออกแบบ, ทุนชุมชนเมือง, สัมมาชีพ, ศาสตร์พระราชา, การพัฒนาที่ยั่งยืนบทคัดย่อ
การวิจัยมุ่งวิเคราะห์ทุนชุมชนเมืองด้วยการคิดเชิงออกแบบที่มีฐาน 3 ห่วงความรู้จากการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการแก่สังคมเพื่อการพัฒนาสัมมาชีพให้ครัวเรือนรายได้น้อยในชุมชนวัดสวัสดิ์วารีสีมาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร โดยกลุ่มปฏิบัติการวิจัยแบบมีส่วนร่วมกับกลุ่มครัวเรือนรายได้น้อย ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มผู้ประกอบการร้านค้าในชุมชน จำนวน 30 คน ด้วยการสัมภาษณ์ การสังเกตแบบมีส่วนร่วม การสนทนากลุ่มย่อย การจัดบริการวิชาการแก่สังคม วิเคราะห์เชิงเนื้อหา พบว่า การเข้าใจเข้าถึง (Empathize) ชุมชนวัดสวัสดิ์วารีสีมาราม เป็นชุมชนเมืองที่มีลักษณะแบบ “บวร” บ้าน วัด โรงเรียน การอยู่ร่วมกันของประชาชนมีต้นทุนวิถีชีวิตอยู่เกื้อกูลกันมานานกว่า 191 ปี จึงนิยาม (Define) ชัดว่าผู้คนมีวิถีชีวิตคนเมืองทั่วไปต้องตื่นเช้ากลับบ้านมืด ระหว่างวันมีกลุ่มผู้หญิงเป็นผู้นำรับภาระหน้าที่หลักในการพัฒนาชุมชนซึ่งเป็นจิตอาสาและเป็นแม่เลี้ยงเดี่ยว คนว่างงาน เกษียณอายุเป็นแม่บ้าน แต่มีพลังในการทำงานแต่ไม่มีงานทำสร้างรายได้ สู่การระดมความคิด (Ideate) ความรู้จากการเรียนการสอนในศาสตร์การพัฒนาสัมมาชีพ ผสมการวิจัยเพื่อท้องถิ่น ผสานการบริการวิชาการแก่สังคมที่เป็นยุทธศาสตร์ราชภัฏพัฒนาคุณภาพชีวิตเศรษฐกิจฐานราก เพื่อสร้างตัวแบบ (Prototype) ที่ผลิตภัณฑ์ขนมไทยใบตอง และน้ำพริกมะขามอ่อนผัด ที่นำไปสู่การทดลอง (Test) ทำและจำหน่ายในชุมชนวัดสวัสดิ์วารีสีมาราม การสร้างสรรค์มูลค่าเพิ่มออกแบบโลโก้เรื่องเล่าอัตลักษณ์ชุมชน ถอดบทเรียน (After action review) ในการสร้างกระบวนการสัมมาชีพในการพัฒนาที่ยั่งยืน
References
กรมการพัฒนาชุมชน. (2561). แนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน ปี 2562. กรุงเทพฯ: สำนักเสริมสรางความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย.
คณะกรรมการขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชา สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ. (2560). การขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชา. กรุงเทพฯ: สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ.
ณรงค์ เส็งประชา. (2528). สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: พิทักษ์อักษร.
ไปรมา อิศรเสนา ณ อยุธยา และชูจิต ตรีรัตนพันธ์. (2560). การคิดเชิงออกแบบ: เรียนรู้ด้วยการลงมือทำ (Design Thinking: Learning by Doing). กรุงเทพฯ: ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC)
พระเทพเวที (ป.อ. ปยุตฺโต). (2536). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2554). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ภูมิพลอดุลยเดช,พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา. (2552). คำพ่อสอน: ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง/มูลนิธิพระดาบส (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรุงเทพ.
ภูสิทธ์ ภูคำชะโนด. (2558). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา SIM2110 เศรษฐกิจสังคมตามแนวพระราชดำริ (Social-Economics under the Royal Initiatives) [เอกสารที่ไม่การตีพิมพ์]. แขนงวิชาการจัดการพัฒนาสังคม สาขาวิชาการจัดการสังคมและวัฒนธรรม ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ภูสิทธ์ ภูคำชะโนด. (2561). กระบวนการมีส่วนร่วมในการบริหารการพัฒนาชุมชนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมของประชาชน 3 จังหวัดยากจนโซนภาคเหนือภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ภูสิทธ์ ภูคำชะโนด. (2562). การพัฒนาชุมชนวิถีประชาธิปไตยตามหลักธรรมาภิบาล: หลักความโปร่งใสและหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ภูสิทธ์ ภูคำชะโนด. (2564). การยกระดับศักยภาพกลุ่มอาชีพในชุมชนวัดประชาระบือธรรมตามบริบทชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาและสำนักงานวิจัยแห่งชาติ (วช.).
ภูสิทธ์ ภูคำชะโนด. (2564). นวัตกรรมการบริหารจัดการการมีส่วนร่วมเครือข่ายชุมชนเมืองกรุงเทพมหานครเพื่อการท่องเที่ยวระดับโลก. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ภูสิทธ์ ภูคำชะโนด. (2565). “ศาสตร์พระราชา”. ในรายวิชา วิศวกรสังคม สำนักวิชาการศึกษาทั่วไปและนวัตกรรมการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ภูสิทธ์ ภูคำชะโนด. (2565). การออกแบบนวัตกรรมอาชีพของผู้สูงอายุแบบบูรณาการบนความร่วมมือของชุมชนวัดประชาระบือธรรม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ภูสิทธ์ ภูคำชะโนดและคณะ. (2565). การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากบนวิถีความหลากหลายของทุนทางปัญญาเพื่อยกระดับผลิตผลชุมชนเมืองเชิงคุณค่าสู่การสร้างมูลค่าของผลิตภัณฑ์อัตลักษณ์ดุสิตแบรนด์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มูลนิธิชัยพัฒนา. (2557). เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
ราชกิจจานุเบกษา. (2556, 11 มกราคม). ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยชุมชนและกรรมการชุมชน พ.ศ. 2555. เล่ม 130 ตอนพิเศษ 4 ง, 1-2. https://webportal.bangkok.go.th/upload/user/00000063/Service/Communication/f8.pdf
ราชกิจจานุเบกษา. (2564, 27 พฤษภาคม). ระเบียบกรุงเทพมหานคร ว่าด้วยชุมชนและกรรมการชุมชน พ.ศ. 2564. เล่ม 138 ตอนพิเศษ 114 ง, 9-33. http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER9/DRAWER041/GENERAL/DATA0008/00008668.PDF
วัฒนาพร ฉิมสุวรรณ์. (2553). แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน.
วันชัย ธรรมสัจการ, อัศวลักษ์ ราชพลสิทธิ์, ปรีดี โชติช่วง, อังคณา ธรรมสัจการและสมฤดี สงวนแก้ว. (2565). ทุนชุมชนและศักยภาพในการจัดการตนเอง เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนท้องถิ่น. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 14(1), 23-32. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/nakboot/article/download/255221/175040/958130
สนธยา พลศรี. (2545). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
สหประชาชาติ ประเทศไทย. (2566). เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย. https://thailand.un.org/th/sdgs
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2544). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่เก้า (พ.ศ.2545-2549). กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2546). การพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทย. กรุงเทพฯ: สหมิตรพริ้นติ้ง.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ศาสตร์กษัตริย์. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สำนักสนับสนุนขบวนองค์กรชุมชน สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน). (2558). คู่มือสนับสนุนการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและทุนชุมชน. https://web.codi.or.th/wp-content/uploads/2019/05/book_Economic041258.pdf
Bourdieu, P. (1986). The forms of capital. In: Richardson, J., Handbook of Theory and Research for the Sociology of Education. Westport, Greenwood, 241–58. https://www.socialcapitalgateway.org/sites/socialcapitalgateway.org/files/data/paper/2016/10/18/rbasicsbourdieu1986-theformsofcapital.pdf
Cohen, D., & Prusak, L. (2001). In good company: How social capital makes organizations work. Harvard Business School Press.
Cohen, J. & Uphoff, N. (1977). Rural development participation: Concept and measures for project design implementation and evaluation. Rural Development Committee Center for International Studies, Cornell University.
Cohen, J. & Uphoff, N. (1980). Participation's place in rural development: Seeking clarity through specificity. World Development, (8), pp. 213-235.
Cox M. (2015). Design thinking in healthcare. https://www.researchgate.net/publication/281408556_Design_Thinking_in_Healthcare
Dam, R.F. & Siang, T. Y. (2021). 5 Stages in the Design Thinking Process. https://www.interaction-design.org/literature/article/5-stages-in-the-design-thinking-process
Phukamchanoad, P. (2023). Urban community study on design thinking: A case study of product development in Wat Pracharabuedham community 1–4, Dusit District, Bangkok, Thailand. Kasetsart Journal (Social Sciences), 044 (1), 61-72. DOI: doi.org/10.34044/j.kjss.2023.44.1.07
Stanford d.school. (2021). Steps of Design Thinking Stanford University. Retrieved from http://dschool.stanford.edu/dgift/.
Vianna, M., Vianna, Y, Adler, I. K., Lucena, B., & Russo, B. (2012). Design thinking: business innovation. MJV Press.
Yvonne (Bonnie) Wichtner-Zoia. (2013). What are community capitals?. Michigan State University Extension. https://www.canr.msu.edu/news/what_are_community_capitals#:~:text=Community%20capitals%20are%20resources%20and%20characteristics%20identified%20with%20successful%20and%20sustainable%20communities.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีและบุคลากรท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว