การศึกษาความต้องการจำเป็นและแนวทางการพัฒนาสมรรถนะ ด้านมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
คำสำคัญ:
ความต้องการจำเป็น, สมรรถนะด้านมุ่งผลสัมฤทธิ์, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นและแนวทางการพัฒนาสมรรถนะมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 โดยวิธีดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาความต้องการจำเป็นของสมรรถนะมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 โดยใช้แบบสอบถามกับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 จำนวน 82 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น (PNI modified) ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 ข้อมูลที่ได้มาจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาความต้องการจำเป็นของสมรรถนะมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 พบว่า ด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา มีดัชนีความต้องการจำเป็นมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านคุณภาพของงาน และด้านความมุ่งมั่นในการทำงานอย่างต่อเนื่อง ตามลำดับ 2. ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ควรวิเคราะห์และปฏิบัติงานตามแผนงานของสถานศึกษาที่กำหนดไว้ โดยวิเคราะห์ปัญหาจากสถานการณ์ปัจจุบัน คิดแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการใหม่ ๆ ใช้กระบวนการบริหารสถานศึกษา โดยนำวงจร PDCA มาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนามุ่งผลสัมฤทธิ์ของสถานศึกษา
References
การยางแห่งประเทศไทย. (2562). คู่มือสมรรถนะ. กรุงเทพมหานคร: กองพัฒนาระบบสมรรถนะและการจัดการความรู้.
กรกต ขาวสะอาด. (2559). สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน วิชาชีพครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
ขจรศักดิ์ ศิริมัย. (2554). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับสมรรถนะ. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2565, จาก http://competencyrmutp.ac.th/wp-content/uploads/2011/01/aboutcompetency.pdf
จีระ งอกศิลป์. (2551). การประเมินสมรรถนะทางการบริหาร. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
จอมพงศ์ มงคลวนิช. (2556). การบริหารองค์การและบุคลากรทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จตุรพล แสนศิลา และพชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร. (2564). แนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น. 8 (2): น. 130 - 138.
เทื้อน ทองแก้ว. (2550). สมรรถนะ Competency หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
ธีรภัทร วงษ์สว่าง. (2555). สมรรถนะผู้บริหาร. สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2565, จาก http://www.tw-tutor.com/downloads/c1.pdf
ชัชรินทร์ ชวนวัน. (2562). สมรรถนะสำหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ตอนที่ 2. สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2565, จาก http://competencyrmutp.ac.th/wp-ontent/uploads/2011/01/aboutcompetency.pdf
ชูชัย สมิทธิไกร. (2552). การสรรหา การคัดเลือกและการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณรินทร์ ชำนาญดู. (2556). การบริหารจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาของนักเรียนกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นิธิ เรืองสุขอุดม. (2563). สมรรถนะของผู้บริหารกับการบริหารแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นาวิน พินิจอภิรักษ์. (2563). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์, 8 (2), น. 328 - 342.
บุญสืบ เทียมหยิน. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษา ที่เปิดสอนระดับมัธยมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2 . วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปิยาภรณ์ อัครลาวัณย์ และสถิรพร เชาวน์ชัย. (2564). การศึกษาความต้องการและแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะของครูสอนภาษาอังกฤษในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 23 (3),น. 190 - 204.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพมหานคร. ศูนย์ส่งเสริมกรุงเทพ.
พิชญ์สินี โภชนุกูล. (2564). การศึกษาสมรรถนะผู้บริหารในศตวรรษที่ 21 ตามทัศนะของครูในโรงเรียนที่ได้รับรางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBECQA) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 15 (3), น. 109 – 130.
พชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร. (2554). การพัฒนาสมรรถนะทางการบริหาร. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร. (2562). สมรรถนะและการจัดการเชิงกลยุทธ์. มหาสารคาม: ตักศิลาการพิมพ์.
พรพิมล วรโยธา. (2560). สมรรถนะที่พึงประสงค์ทางการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนในเขตตําบลนาสัก อําเภอสวี จังหวัดชุมพร. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 8, น. 1593-1604.
พรรณอร อุชุภาพ. (2561). การศึกษาและวิชาชีพครู. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พิชามญชุ์ ลาวชัย. (2562). สมรรถนะของผู้บริหารกับการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เพชรประภาร์ ชุมสาย. (2559). การจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี.
ระวิวรรณ กองกะมุด. (2557). วิธีการพัฒนาสมรรถนะมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่มีประสิทธิผล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาจังหวัดชัยภูมิ. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2550). การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. สงขลา. มหาวิทยาลัยทักษิณ.
วาสนา แสงงาม. (2552). สมรรถนะการสอนที่สัมพันธ์กับประสิทธิภาพการสอนของครูคณิตศาสตร์ช่วงชั้นที่ 3 - 4 วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วิทยา อินทร์สอน. (2553). แนวทางการพัฒนาระบบสมรรถนะเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2565, จาก http://www.thailandindustry.com/onlinemag/view2.
วิไลพร ศรีอนันต์. (2559). สมรรถนะผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนเอกชน จังหวัดนครปฐม วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สังเวียน มาลาทอง. (2556). การศึกษาสภาพการระดมทรัพยากรเพื่อการบริหารการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
สุขตา แดงสุวรรณ์. (2558). การศึกษาการมีส่วนร่วมในการบริหารการศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดระยอง จันทบุรีและตราด. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
สุรชัย พรหมพันธุ์. (2554). ชำแหละสมรรถนะเพื่อการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: ปัญญาชน.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1. (2561). แผนปฏิบัติการประจำปงบประมาณ 2564. ตาก: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1. (2561). แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2563 - 2563. ตาก: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2548). พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา.
สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2548). คู่มือสมรรถนะข้าราชการพลเรือนไทย. กรุงเทพมหานคร: พี.เอ. ลีฟวิ่ง.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สำนักงาน ก.พ.). (2553 ก). คู่มือกำหนดสมรรถนะในราชการพลเรือน: คู่มือสมรรถนะการบริหาร. กรุงเทพมหานคร : ประชุมช่าง.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สำนักงาน ก.พ.). (2553 ข). คู่มือสมรรถนะทางการบริหาร. กรุงเทพมหานคร : ประชุมช่าง.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). รายงานผลการดำเนินงานรับนักเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานปีการศึกษา 2552. กรุงเทพมหานคร: ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). คู่มือการประเมินสมรรถนะครูสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2553. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำปาง. (2563). คู่มือสมรรถนะข้าราชการ: Competency. กรุงเทพมหานคร: กลุ่มบริหารงานบุคคล.
สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2556). มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2565, จาก http://ksp.or.th/download.php?site=kspknowledge&SiteMenuID=4201
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). รายงานประจำปี 2561. กรุงเทพมหานคร: แกรนด์พ้อยท์.
อาราฟัด หัดหนิ. (2562). สมรรถนะหลักของผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
อรทัย คล้ายสอน, จตุพร เพ็งชัย, และยุพาศรี ไพรวรรณ. (2560). แนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขนาดใหญ่ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3. วารสารการบริหารและนิเทศการศึกษา, 9(1), น. 254-264.
อรุณี ทองนพคุณ. (2558). การศึกษาบทบาทการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี.
อัตพร อุระงาม. (2560). การพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารและพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
Rylatt, A., & Lohan, K. (1995). Creating training miracles. Sydnry: Irwin.
McClelland, D. C. (1973). Testing for competence rather than for “Intelligence”. American Psychologist. 28, PP. 1-14. http://dx.doi.org/10.1037/h0034092
Newell, A. & Simon. H. A. (1972). Human Problem Solving. Prentice Hall
Hellriegel, D., Jackson, S. E., & Slocum, J. W. (2005). management a competency-based approach. New Delhi: Cengage Learning.
Spencer, L. M., & Spencer, S. M. (1993). Competence at work: Models for superior performance. New York: John Wiley & Sons.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีและบุคลากรท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว