แนวทางการศึกษาเพื่อการพัฒนาความพอเพียงของนักเรียน

ผู้แต่ง

  • สิริพร บุญพา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยพะเยา
  • ธารินทร์ รสานนท์ วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยพะเยา
  • โกศล มีคุณ วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยพะเยา

คำสำคัญ:

ความพอเพียง, การพัฒนานักเรียน, ปัจจัยเชิงสาเหตุ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอสาระสำคัญเกี่ยวกับความพอเพียง และปัจจัยเชิงสาเหตุของความพอเพียงของนักเรียนวัยรุ่น ซึ่งเนื้อหาได้กล่าวถึงแนวคิดความพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9 แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานเพื่อการศึกษาและพัฒนาความพอเพียงของนักเรียน และยังได้เสนอรูปแบบทฤษฎีปฏิสัมพันธ์นิยม ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม ซึ่งเป็นพื้นฐานในการศึกษา รวมทั้งการระบุตัวแปรปัจจัยเชิงสาเหตุของความพอเพียงของนักเรียน ประเด็นที่เป็นพื้นฐานที่สำคัญของการศึกษาในการพัฒนานักเรียนให้มีลักษณะทางจิตใจหรือพฤติกรรมพอเพียง โดยได้มีการศึกษาปัจจัยที่คาดว่าจะเป็นสาเหตุที่สำคัญของความพอเพียงของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว

References

กิ่งอ้อ มะลินิล. (2552). ปัจจัยทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการประหยัดตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ สถาบันวิจัยและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

จิตติพร ไวโรจน์วิทยาการ. (2551). ปัจจัยเชิงเหตุและผลของพฤติกรรมตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนที่ประยุกต์หลักปรัชญาเศรฐกิจพอเพียง. ภาคนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.

เจษฎา สาระ. (2558). การนำแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ของหมอดินอาสาในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรี รับใช้สังคม. 18(1), หน้า 5-14.

ณัฐพล แย้มสะอาด. (2551). การศึกษาตัวแปรเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษา 2 กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและสถิติทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ณิชา พันธุ์ควณิชย์. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 40. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและการประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2531). ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมสำหรับคนไทย: การวิจัยและประยุกต์. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2538). พฤติกรรมศาสตร์ เล่ม 1 พื้นฐานความเข้าใจทางจิตวิทยา. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2541). ตำราขั้นสูง ทฤษฎี การวัดและงานวิจัยเอกลักษณ์แห่งอีโก้คนไทยและเทศ. กรุงเทพมหานคร: คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2559). สี่ทศวรรษทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม. กรุงเทพมหานคร: เดือนตุลา.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2550). รูปแบบทฤษฎีสัมพันธ์นิยม (Interactionism model) และแนวทางการตั้งสมมติฐาน ในการวิจัยสาขาจิตพฤติกรรมศาสตร์ในประเทศไทย. วารสารพัฒนาสังคม. 9(1); หน้า 85-117.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2559) ความเชื่ออำนาจในตน : การวัด ความสำคัญ และการเปลี่ยนแปลง. วารสารพัฒนาสังคม. 8(2); หน้า 107-141.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน และคณะ. (2552). จิตพอเพียงกับการพัฒนาที่ยั่งยืน. เอกสารประกอบการบรรยายในการสัมมนานักพัฒนา. ใน “โครงการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพหุดัชนีทางจิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”. (หน้า 104-160).จัดโดย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.).

กรุงทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) การประชุมวิชาการ

ทรรศนันท์ ชินศิริพันธุ์. (2555). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านความพอประมาณของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสถานศึกษาพอเพียงแบบอย่าง. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ สถาบันวิจัยและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ธีรพงศ์ บำเพ็ญทาน. (2558). สถานการณ์ทางสังคมและจิตลักษณะที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมใฝ่รู้ใฝ่เรียน ดนตรีของนักเรียนวิชาเอกดนตรีระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ สถาบันวิจัยและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นิภาวรรณ หมีทอง. (2551). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักศึกษาอาชีวศึกษาหญิงในเขตกรุงเทพ. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ สถาบันวิจัยและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นิศากร สนามเขต. (2550). การมีภูมิคุ้มกันภายในและภายนอกที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการคบเพื่อนอย่างเหมาะสมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม คณะพัฒนาสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

บุญชม ศรีสะอาด. (2555). วินัยในตนเองและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง. วารสารการวัดผลการศึกษา. 17(1),

หน้า 3-15.

บุญรับ ศักดิ์มณี. (2532). การเสริมสร้างจิตลักษณะเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการทำงานราชการ. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พระมหาจิรัตถกร อริโย (มะสุใส). (2554). ปัจจัยทางจิตสังคมที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ควบคู่คุณธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ภัทรสิริณ์ เสวตไอยาราม. (2549). องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเรียนที่เหมาะสมของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการศึกษา คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ภาวนา ประมนต์. (2555). ปัจจัยเชิงเหตุและผลของพฤติกรรมการวางแผนชีวิตของนักศึกษาระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการแนะแนว มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580). (2561, 13 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 135 ตอนที่ 82 ก.

หน้า 1-61

วัชระ ประทาน. (2556). การพัฒนาโมเดลปัจจัยเชิงเหตุและการวิเคราะห์อิทธิพลส่งผ่านการรับรู้ความสามารถของตนเองทางวิชาการต่อพฤติกรรมตั้งใจเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนในเครือข่าย มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ลลิตภัทร เจริญรัฐ. (2555). การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคด้วยปัญญาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 ด้วยวิธีการวิเคราะห์กลุ่มพหุ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิไลลักษณ์ ทองคำบรรจง. (2553). ปัจจัยเชิงเหตุและผลของพฤติกรรมติดอินเตอร์เน็ตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ช่วงชั้นที่ 3 ในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ สถาบันวิจัยและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วีรชัย คำธร. (2558). ปัจจัยเชิงบูรณาการตามประสบการณ์และลักษณะทางจิตที่มีอิทธิพลต่อจิตสาธารณะของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรี รับใช้สังคม. 18 (1), หน้า 57-66.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2550). นานาคำถามเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: ดอกเบี้ย.

____. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.

สุพัตรา ผลรัตนไพบูลย์ (2550). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุมาลี สิงห์เกิด. (2553). ปัจจัยบางประการที่สัมพันธ์กับการดำเนินชีวิตแบบพอเพียงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุเมธ ตันติเวชกุล. (2559). ใต้เบื้องพระยุคลบาท. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: มติชน.

สุรัตน์ จี้ฟู. (2557). ทัศนคติของนักเรียนต่อการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้:กรณีศึกษานักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนธีรกานท์บ้านโฮ่ง อำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน. การค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

แสงเดือน เสาะสูงเนิน. (2559). ปัจจัยเชิงสาเหตุทางจิตสังคมที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. การค้นคว้าอิสระศิลปศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพัฒนาสังคม คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

อนันต์ แย้มเยื้อน. (2551). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการมีมารยาททางสังคมของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

________. (2559). ปัจจัยเชิงเหตุแบบบูรณาการทางจิตพอเพียง จิตลักษณะ สถานการณ์ และสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อมของเยาวชน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยกรุงธนบุรี. 5(2); หน้า 92-104.

อรพรรณ พงศ์ประยูร. (2559). สถานการณ์ในการเรียนและลักษณะทางจิตที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้แบบนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนวิทยาศาสตร์ของรัฐและโรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วไป.ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ สถาบันวิจัยและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อรพินทร์ ชูชม, สุภาพร ธนะชานนท์, และทัศนา ทองภักดี (2554). ปัจจัยเชิงเหตุและผลของภูมิคุ้มกันทางจิตของเยาวชน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อ้อมเดือน สดมณี, ดุษฎี โยเหลา, ประทีป จินงี่, สุภาพร ธนะชานันท์, และปัทมา เกตุอ่ำ. (2553). ปัจจัยเชิงบูรณาการที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการทำงานอย่างมีจริยธรรมของแกนนำชุมชนในภาคกลาง: การศึกษาระยะหนึ่ง. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Bandura, A. (1986). Social Foundations of Thought and Action: A Social Cognitive View. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

Bhanthumnavin, D. (2000). Importance of supervisory social support and its implications for HRD in Thailand. Psychology and Developing Societies: A Journal. 12 (2), pp. 155 – 167.

Bloom, B. S. (1975). Taxonomy of Education Objective Handbook 1: Cognitive Domain. New York: David Mc Kay company. Incl.

De Volder, M., & Lens, W. (1982). Academic achievement and future time perspective as a cognitive-motivation concept. Journal of Personality and Social Psychology, 42, pp. 566-571.

Hoy, W.K. & Miskel, C.G. (1996). Educational Administration: Theory Research, and Practice. 5th ed. New York: McGraw-Hill.

Magnusson, D., & Endler, N.S. (1977). Personality at the Crossroad: Current Issues in Interactionism Psychology. NewJersey: LEA Plublishers.

Rotter, J.B. (1966). Generalized expectancies for internal versus external of reinforcement. Psychological Mongraphs: General and Applied. 80 (1), p. 609.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-29