การศึกษาโครงสร้างระบบราคาน้ำมันและผลกระทบราคาน้ำมันต่อภาวะเงินเฟ้อของประเทศไทย

Main Article Content

พรพิมล ขำเพชร
ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ
สุจินดา เจียมศรีพงษ์

บทคัดย่อ

กำรศึกษำครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษำโครงสร้ำงรำคำน้ำมัน รวมทั้งผลกระทบและควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรำคำน้ำมันต่ออัตรำเงินเฟ้อของประเทศไทยอำศัยข้อมูลผสม ในช่วงปี พ.ศ.2547 – 2553 ที่ประกอบด้วยจังหวัด 76 จังหวัดของประเทศไทยจำกกำรศึกษำพบว่ำโครงสร้ำงรำคำน้ำมันของประเทศไทย ประกอบด้วย รำคำ ณ หน้ำโรงกลั่น รำคำขำยส่งหน้ำโรงกลั่น รำคำขำยปลีกที่สถำนีบริกำรน้ำมันจะเห็นได้ว่ำระบบรำคำน้ำมันของประเทศไทยในกำรกำหนดรำคำน้ำมันแบบควบคุม รัฐบำลเป็นผู้ควบคุมทุกขั้นตอน ส่วนภำยใต้กำรกำหนดรำคำน้ำมันแบบลอยตัวกำรค้ำน้ำมันมีกำรแข่งขันกันอย่ำงเสรี ในกำรวิเครำะห์ถึงผลกระทบและควำมสัมพันธ์รำคำน้ำมันเชื้อเพลิงต่ออัตรำเงินเฟ้อของประเทศไทย จำกกำรศึกษำพบว่ำตัวแปรรำคำน้ำมัน ค่ำจ้ำงแรงงำนขั้นต่ำรำยจังหวัด ส่งผลกระทบต่ออัตรำเงินเฟ้อ อย่ำงมีนัยสำคัญทำงสถิติ และมีควำมสัมพันธ์กันในทิศทำงเดียวกัน สำหรับตัวแปรผลผลิตมวลรวมรำยจังหวัด อัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ ส่งผลกระทบต่ออัตรำเงินเฟ้ออย่ำงมีนัยสำคัญทำงสถิติ และมีควำมสัมพันธ์ในทิศทำงตรงกันข้ำมกับอัตรำเงินเฟ้อ โดยตัวแปรรำคำน้ำมันเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่ออัตรำเงินเฟ้อในด้ำนต้นทุน ส่วนตัวแปรหุ่นที่อธิบำยจำกนโยบำยกำรควบคุมรำคำน้ำมันภำยในประเทศึึ่งหมำยควำมถึงกำรที่รัฐบำลเข้ำมำควบคุมรำคำน้ำมันภำยในประเทศ มีผลต่อของอัตรำเงินเฟ้ออย่ำงมีนัยสำคัญทำงสถิติและเป็นไปในทิศทำงเดียวกันเนื่องจำกในกำรระบุสำเหตุของปัจจัยที่นำไปสู่ภำวะเงินเฟ้อ กำรศึกษำที่ผ่ำนมำที่ชี้บ่งกำรศึกษำปัจจัยที่กำหนดเงินเฟ้อที่สำคัญคือปัจจัยอุปสงค์มวลรวมและอุปทำนมวลรวม โดยน้ำมันเชื้อเพลิงเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อต้นทุนในกำรผลิตึึ่งจำกกำรศึกษำพบว่ำควรจะควบคุมรำคำกับกำรที่ภำครัฐออกนโยบำยเพื่อควบคุมรำคำน้ำมัน

A Study of Oil Price Structure and Impact of Oil Price that Affect to the Inflation of Thailand

The objective of this study is to analyze the impact of oil price and macroeconomics variables on inflation in Thailand by using pooled data of 76 provinces in Thailand during 2004 – 2010. The factors that contributes to the cost of inflation include factors that affect both aggregate demand and aggregate supply of domestic production in Thailand such as fuel cost of production and government energy policy. The empirical results of this research show that changes in oil prices and wages are in the same direction with inflation but GPP (Gross Regional and Provincial Product) exchange rate and inflation are more in the opposite direction. Moreover, this research also indicates that the energy policy (the use of oil reserve fund) and economic crisis significantly affect inflation. It is recommended that the energy policy should be implemented only on a short-term basis.

 

DOI: http://dx.doi.org/10.14456/becj.2013.10

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research article)