เศรษฐกิจจังหวัดและการจ้างงานภาครัฐ

Main Article Content

เมรดี อินอ่อน
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์
ดารุณี พุ่มแก้ว

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ หนึ่ง ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจจังหวัดกับ
การกระจายกำลังคนภาครัฐ และสอง ศึกษาการจุกตัวของกำลังคนภาครัฐ โดยใช้ฐานข้อมูลของสำนักงานข้าราชการพลเรือน โดยแบ่งกำลังคนภาครัฐจำแนกออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ก) กำลังคนส่วนกลาง ข) กำลังคนสังกัดฝ่ายนิติบัญญัติและ
ตุลาการ ค) กำลังคนขององค์กรปกครองท้องถิ่น ผลการศึกษาสรุปได้คือ หนึ่ง ความต้องการกำลังคนภาครัฐมีความสัมพันธ์กับเศรษฐกิจจังหวัดตอบสนองต่อ GPP โดยมีค่าความยืดหยุ่นในช่วงพิสัยของทั้ง3 กลุ่ม 0.47 0.55 และ 0.56 ตามกำกับ สอง การจัดลำดับตัวแปรการกระจายกำลังคนภาครัฐต่อประชากรพันคนเป็นรายจังหวัด พบว่า กรุงเทพมหานครเป็นจังหวัดที่มีการกระจายตัวของกำลังคนภาครัฐสูงสุด สาม การคำนวณจีนีเพื่อสะท้อนความเหลื่อมล้ำ ซึ่งผลพบว่า มีค่า 0.11 สะท้อนการกระจุกตัวของการจ้างงานภาครัฐอย่างอ่อนในบางจังหวัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรุงเทพและปริมณฑล ซึ่งมีข้อสังเกตว่าปัจจัยเชิงสถาบัน และโครงสร้างการผลิตที่แตกต่างกันมีผลต่อต่อการจัดสรรกำลังคนภาครัฐ

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research article)

References

Alesina, A., Danninger, S., and Rostagno, M. (2001). Redistribution through public employment: the case of Italy. IMF Staff Papers, 48(3), 447-473.

bin Idris, A. R., & Eldridge, D. (1997). Seeking a conceptual explanation of the growth of public sector employment beyond current reform parameters. International Journal of Public Sector Management. Vol. 10 (6), 471-484.

Borge, L. E., and Matsen, E. (2004). Public employment and regional risk sharing. Scandinavian Journal of Economics, 106(2), 215-230.

Dahlberg, M., and Mörk, E. (2006). Public employment and the double role of bureaucrats. Public choice, 126(3-4), 387-404.

Department of Local Administration. (2019). Data Local Administration: Number of Local Administration. Retrieved January 13, 2020, from http://www.dla.go.th/work/abt/

Heitger B. (2001).The Scope of Government and its Impact on Economic Growth in OECD Countries. Kiel Working Paper, No. 1034, Kiel Institute for the World Economy (IfW), Kiel.

Kessing, S. G., & Strozzi, C. (2017). The regional distribution of public employment: theory and evidence. Regional Studies, 51(7), 1100-1114.

Office of the Civil Service Commission. (2019). Public employment year 2018. Nonthaburi: 21 Century Co Ltd.

Scoppa, V. (2009). Intergenerational transfers of public sector jobs: a shred of evidence on nepotism. Public Choice, 141(1-2), 167-188.

The Comptroller General's Department. (2019). Fiscal statistics year 2018. Nonthaburi: Sahamitr Printing And Publishing Co Ltd.