การก่อเกิดและการสร้างสรรค์ภาพยนตร์ของผู้กำกับภาพยนตร์ไทยนอกกระแสหลัง พ.ศ. 2540

Main Article Content

พิทักษ์ ปานเปรม
อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล
กำจร หลุยยะพงศ์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการก่อเกิดหรือภูมิหลังชีวิตของผู้กากับภาพยนตร์ที่เกี่ยวข้องกับบริบททางสังคมด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมือง และด้านเทคโนโลยีสื่อ และศึกษาการสร้างสรรค์ผลงานภาพยนตร์ของผู้กากับที่ประสบความสาเร็จหลัง พ.ศ. 2540 โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างผู้กากับภาพยนตร์ตามเกณฑ์ลักษณะความเป็นประพันธกร จานวน 5 คน ได้แก่ 1) นายธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ 2) นายนวพล ธารงรัตนฤทธิ์ 3) นายบุญส่ง นาคภู่ 4) นายอภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล และ 5) นายอุรุพงศ์ รักษาสัตย์ ผลการศึกษาพบว่า ผู้กากับภาพยนตร์นอกกระแสทุกคนต้องหาหนทางเพื่อสร้างสรรค์ผลงานภาพยนตร์ท่ามกลางบริบททางเศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยีด้านสื่อที่เปลี่ยนแปลงไป ด้วยภูมิหลังและบริบทเช่นนี้จึงมีความสัมพันธ์ต่อลักษณะความเป็นผู้กากับภาพยนตร์ไทยนอกกระแสที่แสดงให้เห็นการดิ้นรนต่อสู้อันซับซ้อน และผลงานที่สะท้อนถึงลักษณะสังคมไทยหลัง พ.ศ. 2540 ทั้งในด้านกระบวนการสร้างภาพยนตร์ที่มีความยากลาบากจากการขาดแคลนทุน และผู้สนับสนุน จึงต้องหาแนวทางการสร้างภาพยนตร์ด้วยรูปแบบเฉพาะตัว รวมทั้งเนื้อหาในภาพยนตร์ที่มักเป็นเรื่องราวที่สะท้อนสภาพชีวิตจริงใกล้ตัว ทาให้รูปแบบ และเนื้อหาในภาพยนตร์จากผู้กากับเหล่านี้มีเอกลักษณ์ที่แตกต่างจากภาพยนตร์ของผู้กากับภาพยนตร์ไทยนอกกระแสทั่วไป ซึ่งมีส่วนทาให้ภาพยนตร์ไทยนอกกระแสเป็นที่รู้จักในวงกว้างทั้งภายในและต่างประเทศ รวมทั้งกระตุ้นความสนใจให้แก่ผู้สร้างภาพยนตร์หน้าใหม่มีความสนใจที่จะสร้างภาพยนตร์ในรูปแบบภาพยนตร์นอกกระแสมากยิ่งขึ้น

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research article)

References

Boonyakhetmala, B. (2009). Japanese film auteurs: Akira Kurosawa, Juzo Itami and Others. Bangkok: Public Bookery.

Chaiworaporn, A. (2001). Thai cinema since 1970. In D. Hanan (Eds.), Film in South East Asia: View from the region (pp. 141-162). Hanoi: South East Asia Pacific Audio Visual Archives Association.

Chaiworaporn, A. and Knee, A. (2006). Thailand: Revival in an Age of Globalization. In A. Ciecko (Eds.), Contemporary Asian Cinema (p. 60). Oxford: Berg.

Chanrungmaneekul, U. (2018). 120 years of Thai film business in economics, historical and social dimensions. Bangkok: Saksophapress.

Giannetti, L. (1996). Understanding movies. New Jersey: Prentice-Hall.

Hayword, S. (2000). Cinema Studies: The key concepts. New York: Routledge.

Jettana, D. (2010). Analysis of the transitional trend from film cinematography to digital cinema in Thailand. Master thesis, M.A., Chulalongkorn University, Bangkok.

Kerddee, K. (2005). Auteur criticism. In Introduction to film theory and criticism. Nonthaburi: Sukhothai Thmmathirat University.

Khamto, C. (2015). The management of film maker after the film was banned in Thailand case study: Sangsattawat, insects in the backyard. Master thesis, M.A., Thammasat University. Bangkok

Kijvisala, K. (2003). A content analysis of non-mainstream films in Thailand. Master Thesis, M.A., Thammasat University, Bangkok.

McQuail, D. (1987). Critical political economy theory in mass communication theory. London: Sage Publication.

Nelmes, J. (1999). An introduction to film studies. London: Routledge.

Patthananurak, P. and Kachentaraphan, P. (2015). Analysis and Evaluate factor in Film Business Administration. In Film business administration. Nonthaburi: Sukhothai Thmmathirat University.

Srijinda, P. (2011). Thai film industry after its first century and impacts towards Thai society. Kasetsart University, 18(2), 158.

Wasko, J. (2004). The Political Economy of Film. In Miller, T. and Stam, R. (Eds.). A companion to film theory (pp. 226-230). Oxford: Blackwell.