การวิเคราะห์คุณานุประโยคที่ปรากฏในรายงานข่าวโรคติดต่อ ไวรัสโคโรนา 2019 ทางเว็บไซต์กรมควบคุมโรค

ผู้แต่ง

  • อธิษฐาน งามกิจวัตร สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • จิรายุ ภาณุเจต นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

การวิเคราะห์ประโยค, คุณานุประโยค, รายงานข่าวโรคติดต่อไวรัสโคโรนา 2019

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและวิเคราะหคุณานุประโยคที่ปรากฏในรายงานข่าวโรคติดต่อไวรัสโคโรนา 2019 ทางเว็บไซต์กรมควบคุมโรค กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก คุณานุประโยคที่ปรากฏในรายงานข่าวโรคติดต่อไวรัสโคโรนา 2019 ทางเว็บไซต์กรมควบคุมโรค จำนวน 1,271 ประโยค จากจำนวนทั้งสิ้น 4,621 ประโยค โดยใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง กรอบแนวคิดในการวิจัย ไดแก คุณานุประโยคตามทฤษฎีของ Oshima and Hogue (2006) สถิติที่ใช้ในการทำวิจัยครั้งนี้เพื่อหาค่าความถี่ ได้แก่ ค่าร้อยละ ผลการศึกษาพบวาคุณานุประโยคที่ปรากฏในรายงานข่าวโรคติดต่อไวรัสโคโรนา 2019 ทางเว็บไซต์กรมควบคุมโรค จำนวน 1,271 ประโยค คิดเป็นร้อยละ27.50 เมื่อพิจารณาการใชคุณานุประโยคตามประเภท พบว่ามีการใชคุณานุประโยค จำนวน 6 ประเภท โดยประเภทที่พบมากที่สุด คือประเภท Relative Pronouns as Subjects จำนวน 1,190 ประโยค คิดเปนรอยละ 93.63 อันดับที่สอง คือประเภท Adjective Clauses of Time and Place จำนวน 43 ประโยค คิดเปนรอยละ 3.38 อันดับที่สาม คือประเภท Relative Pronouns as Objects of Prepositions จำนวน 16 ประโยค คิดเปนรอยละ 1.26 อันดับที่สี่ คือประเภท Relative Pronouns as Objects จำนวน 12 ประโยค คิดเปนรอยละ 0.94 อันดับที่หา คือประเภท Possessive Adjective Clauses จำนวน 6 ประโยค คิดเปนรอยละ 0.47 และอันดับสุดทาย คือประเภท Relative Pronouns in Phrases of Quantity and Quality จำนวน 4 ประโยค คิดเปนรอยละ 0.32

References

กรมควมคุมโรค. (2563). โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). สืบค้นจาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/index.php

กัญญ์วรา ศิริสมบูรณ์เวช, ปิยฉัตร ล้อมชวการ และ กมลรัฐ อินทรทัศน์. (2565, กันยายน-ธันวาคม). การใช้สื่อสังคมออนไลน์ของกระทรวงสาธารณสขในการสื่อสารภาวะวิกฤตโรคโควิด 19. วารสารสหศาสตร์ศรีปทุม ชลบุรี, 8(3), 85-93.

กาโสม หมาดเด็น. (2559). ความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษและการจัดการเรียนการสอนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 16. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์).

จุฑามณี ทิพราช, นิติรัตน์ อุทธชาติ, กนกวรรณ วงศ์ทอง และ จักรพงษ์ ทองผาย. (2564, มกราคม-เมษายน). การศึกษาคุณานุประโยคภาษาอังกฤษที่ปรากฏในข่าวธุรกิจหนังสือพิมพ์ออนไลน์ซีเอ็นเอ็น. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย พิชญทรรศน์, 16(1), 43-57.

เฉลิมวุฒิ สาคำนะ. (2562). การพัฒนาทักษะไวยากรณ์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6. สืบค้นจาก http://www.thaischool1.in.th/_files_school/44100437/workteacher/44100437_1_20200823-102549.pdf

พระศรีสิทธิมุนี. (2564, กันยายน-ธันวาคม). การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษ. วารสาร มจร.อุบลปริทรรศน์, 6(3), 921-934. สืบค้นจาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/249629/170604

พัชราภา เอื้ออรมรวนิช. (2564, กรกฎาคม-ธันวาคม). โควิด 19 กับการรู้เท่าทันการแพร่ระบาดของข่าวสารในสื่อสังคมออนไลน์. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 6(2), 29-36. สืบค้นจาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/rdibsru/issue/view/17317/4680

พิพัฒน์ อัฒพุธ, ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์ และ ดิเรก ธีระภูธร. (2560, เมษายน - มิถุนายน). ผลการใช้สื่อสังคมออนไลน์ร่วมกับการเรียนรู้เชิงรุก วิชาการออกแบบและผลิตสื่อกราฟิกคอมพิวเตอร์สำหรับนักศึกษาระดับชั้นปริญญาตรี. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 19(2), 145-154.

สายฝน คิมอิ๋ง. (2555). การวิเคราะห์โครงสร้างประโยคภาษาอังกฤษในคอลัมน์ Star biographic ในนิตยสาร Student weekly. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร, มหาวิทยาลัยบูรพา).

สุรชัย ปิยานุกูล. (2557, กรกฏาคม - ธันวาคม). ผลของการอ่านโดยการวิเคราะห์ประโยค. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 9(2), 8-14.

อัคร์ณัฐฏ์ ปาลวัฒน์. (2557). การวิเคราะห์โครงสร้างประโยคภาษาอังกฤษที่ปรากฏใน Error messages ของ MS Windows error code lookup utility version 2.9. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร, มหาวิทยาลัยบูรพา).

Lilo, A. C. (2021). Investigating grammatical patterns of adjective clause of english text for high school education. Retrieved from https://repositori.untidar.ac.id/index.php?p=fstream-pdf&fid=36080&bid=10611

Munthe, E. R. O. G., Marbun, N., Torong, S., & Sitanggang, A. (2022). A contrastive analysis of adjective clause on Spiderman Home Coming. Journal of Humanities, Social Sciences and Business, 1(4), 109-120. Retrieved from https://journals.indexcopernicus.com/api/file/viewByFileId/1824805

Nandiya, V. (2019). An analytical study of english clauses used in a map of the journey by Sayadaw U Jotika. (Master’s thesis, English: International Program, Mahachulalongkornrajavidayalaya University).

Oshima, A., & Hogue, A. (2006). Writing academic english (4th ed). New York: Pearson Longman.

Ramadhan, M. S., Widisanti, N. M., & Rejeki, S. (2019). An analysis on adjective clause in Daniel Defoe’S Robinson Crusoe. Retrieved from https://journal.unpak.ac.id/index.php/albion/article/download/1313/1106

Swandhana, F.D. (2023). The analysis of adjective clause in Alice Munro’s the Ofiice. Retrieved from https://repository.unej.ac.id/handle/123456789/21491

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-20