จารึกซับจำปา 2 ไม่ได้ชำรุดมากอย่างที่คิด: ข้อเสนอใหม่เรื่องฉันทลักษณ์ คำอ่าน คำแปล และคำศัพท์ว่า “เศาทฺโธทนิ”
คำสำคัญ:
จารึกซับจำปา 2, ฉันทลักษณ์, คำอ่าน, คำแปลบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาจารึกซับจำปา 2 ซึ่งเป็นจารึกภาษาสันสกฤต จารด้วยอักษรสมัยหลังปัลลวะ ราวพุทธศตวรรษที่ 13-14 พบที่เมืองโบราณซับจำปา ตำบลซับจำปา อำเภอท่าหลวง จังหวัดลพบุรี ด้วยวิธีการอ่าน แปล และตีความใหม่ ผลการศึกษาพบว่าจารึก หลักนี้ไม่ได้ชำรุดมากอย่างที่ระบุไว้ในทะเบียนประวัติ ประพันธ์เป็นศารทูลวิกรีฑิตฉันท์ จำนวน 1 บท มีเนื้อหาว่าด้วยการสรรเสริญพระพุทธเจ้า ทั้งยังพบคำสำคัญว่า “เศาทฺโธทนิ” (พระโอรสของพระเจ้าศุทโธทนะ) ซึ่งแม้จะเป็นพระนามของพระพุทธเจ้าที่ปรากฏในคัมภีร์พุทธศาสนาหลายนิกาย แต่สันนิษฐานว่าจารึกหลักนี้มีความเกี่ยวข้องกับนิกายเถรวาทที่ใช้ภาษาสันสกฤต
นั่นคือนิกายสรรวาสติวาท
References
กรมศิลปากร. (2559ก). จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร.
กรมศิลปากร. (2559ข). จารึกในประเทศไทย เล่ม 2 (พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร.
ชินวรสิริวัฒน์, สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวง. (ทรงเรียงเรียง). (2541). พระคัมภีร์อภิธานัปปทีปิกา หรือพจนานุกรมภาษาบาลีแปลเป็นไทย (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
ธนกฤต ลออสุวรรณ. (2547, มกราคม - มิถุนายน). พระพิมพ์ดินเผาจากราชบุรี : ร่องรอยความสัมพันธ์ระหว่างนิกายเถรวาท-มหายานในสมัยทวารวดี. ดำรงวิชาการ, 3(5), น. 152-161.
เมธี พิทักษ์ธีระธรรม. (2559, กรกฎาคม - ธันวาคม). Samayabhedoparacanacakra: คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์ (2). ธรรมธารา, 2(2), น. 57-104.
พระศรีสุทธิพงศ์. (เรียบเรียง). (2527). อภิธานปฺปทีปิกาฏีกา. กรุงเทพฯ: เทคนิค (19).
ภูธร ภูมะธน. (2558). รูปเคารพเนื่องในพระพุทธศาสนา. ใน ภูธร ภูมะธน (บ.ก.), ซับจำปา: พิพิธภัณฑ์ซับจำปา จังหวัดลพบุรี (น. 33-67). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง.
วิสุทธ์ บุษยกุล. (2554). แบบเรียนภาษาสันสกฤต. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). (2562). จารึกซับจำปา 2. สืบค้นจาก https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/925
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2560). พจนานุกรมศัพท์ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ทั่วไป)
ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.
สำเนียง เลื่อมใส. (2547). มหากาพย์พุทธจริต. กรุงเทพฯ: ศูนย์สันสกฤตศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
___________. (2553). มหาวัสตุอวทาน เล่ม 1. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสันสกฤตศึกษาในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.
อภิธานปฺปทีปิกา และอภิธานปฺปทีปิกาสูจิ ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2560). (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
อุเทน วงศ์สถิตย์. (2556). คำอ่านและการตีความใหม่ จารึกเสาแปดเหลี่ยม 2 (ซับจำปา). สืบค้นจาก https://db.sac.or.th/inscriptions/articles/detail/11959
Buddhist stotras. (2020). Retrieved from http://gretil.sub.uni-goettingen.de/gretil/corpustei/transformations/html/sa_108-buddhist-stotras.htm
Amarakośa. (2020). Retrieved from http://gretil.sub.uni-goettingen.de/gretil/corpustei/transformations/html/sa_amarasiMha-nAmaliGgAnuzAsana.htm
Bapat, P. V. (1956). 2500 Years of Buddhism. New Delhi: The Ministry of Information and Broadcasting of the Government of India.
Ballantyne, James R. (1867). The Laghu Kaumudi: a Sanskrit Grammar (2nd ed). Benares: E. J. Lazarus.
Cœdès, G. (1953). Inscriptions du Cambodge Vol. V. Paris: Imprimerie d'extreme-Orient.
Chandawimala, Rangama. (n.d.). The Nāmāṣṭaśataka of Sri Lanka and the Buddhabhaṭṭāraka Stotram in Nepal. Retrieved from https://www.academia.edu/37465490/The_Namastasataka_of_Sri_Lanka_and_the_Buddhabhattaraka_Stotram_in_Nepal
Indraji, Pandit Bhagwanlal. (1984). An inscription at Gaya dated in the year 1813 of Buddha’s Nirvana, with two others of the same period. In Jas. Burgess (ed.). The Indian antiquary: a journal of oriental research Vol. X-1881 (reprint) (p. 341-347). Delhi: Swati Publications.
Jinavamsadipa. (n.d.). Retrieved from http://gretil.sub.uni-goettingen.de/gretil/2_pali/7_poe/jinava_u.htm
Kaṭhināvadāna. (2020). Retrieved from http://gretil.sub.uni-goettingen.de/gretil/corpustei/transformations/html/sa_kaThinAvadAna.htm
Ratnamālāvadāna. (2020). Retrieved from http://gretil.sub.uni-goettingen.de/gretil/corpustei/transformations/html/sa_ratnamAlAvadAna.htm
Saddharmapārājikā. (2018). Retrieved from http://www.dsbcproject.org/canon-text/content/766/2894
Shastri, Satya Vrat. (2014). Sanskrit Inscriptions of Thailand. Delhi: Vikas Computer&Printers.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
บทความหรือข้อคิดใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารอักษราพิบูลที่เป็นวรรณกรรมของผู้เขียน บรรณาธิการ หรือ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย