ความหมายและลักษณะการใช้คำว่า “ก่อ” และ “สร้าง” ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
คำสำคัญ:
ก่อ, สร้าง, ความหมาย, การใช้คำบทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการศึกษาภาษาไทยในเชิงประวัติ โดยศึกษาคำว่า “ก่อ” และ “สร้าง” ซึ่งเป็นคำที่ปรากฏตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายและลักษณะการใช้ คำว่า “ก่อ” และ “สร้าง” ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยศึกษาจากเอกสารที่เป็นลายลักษณ์อักษร ในแต่ละสมัย ผลการศึกษาพบว่า คำว่า “ก่อ” และ “สร้าง” แม้จะเป็นคำที่มีความหมายคล้ายคลึง กัน แต่ก็มีลักษณะทางความหมายที่แตกต่างกันบ้าง อีกทั้งยังมีลักษณะการใช้ที่แตกต่างกันในแต่ ละสมัย คำว่า “ก่อ” และ “สร้าง” ในปัจจุบันมีความหมายและลักษณะการใช้ที่ปรากฏเพิ่มขึ้น จากสมัยสุโขทัย ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดเรื่องการเปลี่ยนแปลงของภาษาด้านความหมายในลักษณะ ที่กว้างออก
References
กรมศิลปากร. (2548). ประชุมจารึก ภาคที่ 8 จารึกสุโขทัย. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และโบราณคดี สำนักนายกรัฐมนตรี. (2510). ประชุมจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค 1. กรุงเทพฯ: สำนักทำเนียบนายก รัฐมนตรี.
จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2496). ตำนานพระพุทธชินราช พระพุทธชินศรี และ พระศรีศาสดา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรนิติ์.
จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ. (2530). การสร้างคำในภาษาไทยสมัยสุโขทัย (วิทยานิพนธ์ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาจารึกภาษาไทย, มหาวิทยาลัยศิลปากร).
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2468). พระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอม เกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่องเสด็จประพาสแหลมมลายู เมื่อรัตนโกสินทรศก 108, 109, 117, 120 รวม 4 คราว. พระนคร: หอพระสมุดวชิรญาณ.
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2482). จดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ภาค 18. พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร.
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2482). สำเนาพระราชหัตถ์เลขาส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถึง เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) กับประวัติ เจ้าพระยายมราช. พระนคร: โรงพิมพ์บำรุงธรรม.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. (2469). ตำนานพุทธเจดีย์สยาม. พระนคร: โรงพิมพ์โสภณ พิพรรฒธนากร.
ดุษฎีพร ชำนิโรคศานต์. (2558). ภาษาศาสตร์เชิงประวัติและภาษาไทเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย.
แดนบีช แบรดเลย์. (2514). อักขราภิธานศรับท์. พระนคร: องค์การค้าของคุรุสภา.
ฐิติพา คูประเสริฐ. (2557, มกราคม-ธันวาคม). พัฒนาการของคำว่า “เอา” “นำ” และ “พา” ใน สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, 9-10(16-17), 19-37.
เทียนวรรณ. (2544). รวมงานเขียนของเทียนวรรณ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: ต้นฉบับ.
นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยา, และ ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. (2558). สาส์นสมเด็จ เล่ม 1 พ.ศ. 2457-2461 ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.
นววรรณ พันธุเมธา. (2513). การใช้ภาษา. พระนคร: สมาคมสตรีอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย.
นววรรณ พันธุเมธา. (2549). ไวยากรณ์ไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปราณี กุลละวณิชย์, กัลยา ติงศภัทิย์, ม.ร.ว., สุดาพร ลักษณียนาวิน, และ อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2535). ภาษาทัศนา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2515). การใช้ภาษาร้อยแก้วในภาษาไทยสมัยอยุธยา. (วิทยานิพนธ์ปริญญา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
เปลี่ยน ภาสกรวงศ์, ท่านผู้หญิง. (2557). ตำราแม่ครัวหัวป่าก์. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: ต้นฉบับ.
พระราชพงศาวดารกรุงเก่า (ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์). (2498). พระนคร: กรมศิลปากร.
ไม้ เมืองเดิม. (2544). แผลเก่า. กรุงเทพฯ: ไพลิน.
ยาใจ ชูวิชา. (2536). ความเป็นประโยคของหน่วยสร้างกริยาเรียงในภาษาไทย (วิทยานิพนธ์ ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
ราชบัณฑิตยสถาน. (2519). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2493. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2539). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
เรื่องนางนพมาศ หรือ ตำหรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ. (2457). พระนคร: หอพระสมุดวชิรญาณ.
วัลยา วิมุกตะลพ. (2513). การเปลี่ยนแปลงความหมายของคำ สำนวน และลำดับของคำใน ภาษาไทย สมัยรัตนโกสินทร์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชา ภาษาไทย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
อนันต์ อมรรตัย, บรรณาธิการ. (2544). คำให้การขุนหลวงหาวัด (ฉบับหลวง) และ ประชุม พงศาวดาร ภาค 81 จดหมายเหตุเรื่อง การจลาจลเมื่อปลายแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช. นนทบุรี: จดหมายเหตุ.
อรวรรณ ทรัพย์พลอย, บรรณาธิการ. (2561). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4 ของเจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
Kerr, Allen D. (1972). Lao-English dictionary. Washington, D.C.: The Catholic Univ. of America Press.
Pallegoix, Jean Baptiste. (1854). Dictionarium linguae Thai. Parisiis: Jussu Imperatoris Impressum.
คลังข้อมูลภาษาไทยแห่งชาติ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . สืบค้นจาก http://www.arts.chula.ac.th/~ling/tnc3/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
บทความหรือข้อคิดใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารอักษราพิบูลที่เป็นวรรณกรรมของผู้เขียน บรรณาธิการ หรือ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย