พฤติกรรมการอนุรักษ์ระบบนิเวศแนวปะการังของนักท่องเที่ยวดำน้ำตื้น ในพื้นที่จังหวัดตรัง
Keywords:
behavior, conservation, coral reef ecosystemAbstract
The study aimed to investigate how snorkelers conserve coral reef ecosystem and identify factors. that influence their behavior were used to collect data from Thai tourists who went diving from October to November 2023. The sample size was 400 individuals. The Data was analyzed using descriptive statistics such as percentage, mean and standard deviation, and inferential statistics for hypothesis testing and variable correlation testing. Pair comparisons in analytical measurements were made using, one- way ANOVA, and Scheffé.
The study indicated that coral reef ecosystems exhibit significant conservation behavior (83%) Differences in occupation, values, knowledge, and attitudes towards conservation had a significantly impact on coral reef ecosystems conservation behavior (p-value ≤ 0.05).
The study recommends that the government use internet platform to communicate information, news, and knowledge about coral reef ecosystems in order to promote knowledge and comprehension among tourists and stakeholders. There is a lack of law enforcement in conversation, thus concern agencies should adopt clear measures to handle infractions destruction of coral reef ecosystems.
References
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. (19 เมษายน 2565). แนวปะการัง. คลังความรู้ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. https://km.dmcr.go.th/c_3
คนึงนิตย์ ลิ่มจิรขจร, ศุภพร เปรมปรีดิ์, บารณี บำรุง, ชุติมา ชุมมิ่ง, จักรกฤษ วิศพันธ์, พัชรี ฤกษ์งานดี และ
เอกนรินทร์ รอดเจริญ. (2565). องค์ประกอบสกุลของปะการังแข็งและ การประเมินสถานภาพแนวปะการัง บริเวณ เกาะกระดาน และ เกาะเชือก จังหวัดตรัง. PKRU SciTech Journal, 6(1), 47-58.
เครือวัลลิ์ นนทะเสน. (2557) การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลของประชาชนตำบลเกาะลิบง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง . มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์/กรุงเทพฯ. DOI : https://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=10.14457/KU.the.2014.908
จรินทร์พร จุนเกียรติ และ คนางค์ คันธมธุรพจน์. (2563). พฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองของประชาชน
ในตำบลท้ายเหมือง อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา. วารสาร สห ศาสตร์, 20(2), 152-164.
จุฑาธิป ถิ่นถลาง. (2558). ความรู้และทัศนคติของประชาชนที่มีผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์ป่าชายเลน : กรณีศึกษาอําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล). Digital Research Information Center . https://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/289588
ธนินทร์ สังข์ดวง. (2565). การพัฒนาการท่องเที่ยวดำน้ำอย่างยั่งยืนในพื้นที่อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง (Doctoral dissertation, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์).
นภวรรณ ฐานะกาญจน์ พงษ์เขียว และ ธนกฤต สังข์เฉย. (2561). การ ส่งเสริม การ อนุรักษ์ ทรัพยากร ป่า ไม้ ใน ระดับ ท้องถิ่น: กรณี ศึกษา อำเภอ อู่ทอง จังหวัด สุพรรณบุรี. Thai Journal of Forestry, 38(1), 112-121.
นันทพร ชูจันทร์ (2552) การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม : กรณีศึกษา เกษตรกรลูกค้าธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตรจังหวัดสมุทรปราการ . https://cms.dru.ac.th/jspui/bitstream/123456789/340/10/Unit%205.pdf
ธรรมศักดิ์ ยีมิน, มาฆมาส สุทธาชีพ และ สิทธิพร เพ็งสกุล. (2562). การส่งเสริมและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศสำหรับกิจกรรมดำนาลึกและน้ำตื้นในจังหวัดชุมพร: แผนงานวิจัย: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
มัตฑิกา แดงแย้ม. (2560). ฤดูกาลและพื้นที่ในการเกิดโรคของปะการังบริเวณแนวปะการังเขตน้ำตื้น
ฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน.
สำนักบริหารพื้นที่อนุรัษ์ที่5 (นครศรีธรีรรมราช) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. (2565)
แผนการบริหารจัดการพื้นที่อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม พ.ศ. 2566-2570
Nestor, et al., (2018). Impact of snorkelers on shallow coral reefs in the Rock Island Southern Lagoon. PICRC Technical Report 17-04).

Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2025 rusrawee lopetch

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความหรือข้อคิดเห็นใดๆ ในวารสารสหศาสตร์เป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษาแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาให้ครบถ้วนสมบูรณ์
ท่านที่ประสงค์จะส่งบทความ ผลงานวิจัย ข้อคิดเห็นทางวิชาการลงตีพิมพ์วารสารสหศาสตร์ กรุณาส่งมาที่คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล