Public Policy Evaluation to Maintain Fiscal Discipline of Public Sector in Thailand
คำสำคัญ:
Public Policy Evaluation, Fiscal Policy, Fiscal Disciplineบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษา วิเคราะห์ และวิพากษ์แนวคิดร่วมสมัยในวงจรนโยบายสำหรับการประเมินผลนโยบายสาธารณะเพื่อรักษาวินัยการเงินการคลังของรัฐไทย และ (2) เสนอแนะเชิงนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการรักษาวินัยการเงินการคลังของรัฐไทย จากสถานการณ์ของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปส่งผลต่อการรักษาวินัยการเงินการคลังเป็นอย่างมาก ดังนั้น การประเมินผลนโยบายดังกล่าวจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ผลการศึกษาพบว่า (1) ในวงจรการกำหนดนโยบาย ปัจจัยความต้องการของเครือข่ายนโยบายมีความเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ (2) การนำนโยบายไปปฏิบัติ ปัจจัยนำเข้าด้านงบประมาณส่งผลต่อประสิทธิภาพของผลผลิตนโยบาย (3) การประเมินผลนโยบาย การกำกับดูแลที่มุ่งเน้นการให้คำปรึกษาแนะนำและสร้างความสัมพันธ์อันดีกับเครือข่ายส่งผลต่อความคุ้มค่าในการส่งมอบบริการสาธารณะ สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปโดยเฉพาะการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อประสิทธิผลของนโยบาย (ภาพรวมของการรักษาวินัยการเงินการคลังของรัฐ) และเกิดคำถามเกี่ยวกับความยั่งยืนทางการคลังโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านหนี้สาธารณะและการจัดหารายได้ และจากผลการศึกษาได้เสนอแนะเชิงนโยบายสำหรับรัฐไทย ดังนี้ (1) กำหนดนโยบายการคลังให้สอดคล้องกับนโยบายทางการเงิน (2) ดำเนินการสร้างนวัตกรรมจัดเก็บรายได้และระดมทุนสาธารณะ และ (3) ประเมินผลนโยบายเพื่อคาดการณ์อนาคต
References
Chan, J. L. (2016). Changing Roles of Public Financial Management. In T. Bovaird, & E. Löffler, Public Management and Governance (pp. 101--111). Routledge.
Denhardt, J. V., & Denhardt, R. B. (2015). The New Public Service Serving, Not Steering (Expanded Edition ed.). Routledge.
Evseeva, S., Evseeva, O., & Rawat, P. (2022). Employee Development and Digitalization in BANI World. International Scientific Conference on Innovations in Digital Economy. Saint Petersburg Polytechnic University.
Frederickson, H. G., Smith, K. B., Larimer, C. W., & Licari, M. J. (2012). The Public Administration Theory Primer (2 ed.). Westview Press.
Georgieva, K. (2022, October 6). Navigating A More Fragile World. (I. I. Fund., Producer) Retrieved from https://www.imf.org
Georgieva, K. (2022, October 13). Transcript of Press Briefing on GPA. (IMF: International Monetary Fund) Retrieved from https://www.imf.org
Horton, M., & El-Ganainy, A. (2022, June 15). Fiscal Policy: Taking and Giving Away. Retrieved from F&D Magazine: https://www.imf.org/
INTOSAI. (2021). World Bank, PEFA, DFID on SAI Contributions. Retrieved from International Journal of Government Auditing: http://intosaijournal.org/
Lawson, A. (2015). Public Financial Management. Retrieved from GSDRC Professional Development Reading Pack no. 6.
OECD. (2019, December 10). Better Criteria for Better Evaluation. Retrieved from www.oecd.org/dac/evaluation
PEFA: Public Expenditure and Financial Accountability. (2019). Framework for Assessing Public Financial Management. Washington DC: PEFA Secretariat.
Pollitt, C., & Bouckaert, G. (2011). Public Management Reform: A Comparative Analysis—New Public Management, Governance, and the Neo-Weberian State (3 ed.). New York: Oxford University Press.
SIDA: Swedish International Development Cooperation Agency. (2012, April). Evaluation of Public Financial Management Reform. (A. Lawson, Ed.)
UNDP: The United Nations Development Programme. (2006). Overview the New Public Finance Responding to Global Challenges. (K. INGE, & C. PEDRO, Eds.) New York: Oxford University Press.
Vitor, G., Raphael, L., Paolo, M., & Roberto, P. (2022, October 12). IMF Blog. Retrieved from International Monetary Fund: https://www.imf.org
World Bank. (2019). PEFA, Public financial management, and good governance. (J. K. Kristensen, M. Bowen, C. Long, S. Mustapha, & U. Zrinski, Eds.) Washington DC: World Bank Group. https://doi.org/10.1596/978-1-4648-1466-2
กฤติญดา เกิดลาภผล. (2562). มาตรการทางกฎหมายเพื่อควบคุมการบริหารงบประมาณแผ่นดินประเภทงบกลาง รายการเงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 17(1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2562), 56-73.
กฤษณ์ รักชาติเจริญ. (2557). การบริหารการคลังภายใต้แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่. วารสารนักบริหาร Executive Journal, ปีที่ 34(ฉบับที่ 1).
จาตุรนต์ เทพเดชา. (2563). สิทธิประโยชน์ทางภาษีในการบริจาคเงินและทรัพย์สินให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 10(3 กันยายน-ธันวาคม 2563).
ทศพร ศิริสัมพันธ์. (2551). เทคนิควิธีการวิเคราะห์นโยบาย. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธนวัฒน์ ยอดใจ. (4 กรกฎาคม 2565). คลิปสัมภาษณ์นายกเทศมนตรีเมืองแม่เหียะเกี่ยวกับการเข้าร่วมโครงการประเมินวินัยการเงินการคลังของหน่วยรับตรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564. (สตง., ผู้สัมภาษณ์) เข้าถึงได้จาก https://www.audit.go.th
ธวัช ฤกษ์หร่าย. (11 กรกฎาคม 2565). คลิปสัมภาษณ์นายกเทศมนตรีตำบลขาณุวรลักษบุรีเกี่ยวกับการเข้าร่วมโครงการประเมินวินัยการเงินการคลังของหน่วยรับตรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564. (สตง., ผู้สัมภาษณ์) เข้าถึงได้จาก https://www.audit.go.th
บดินทร์ธร บัวรอด. (2562). การวิเคราะห์นโยบายภาครัฐเพื่อการนำไปปฏิบัติ : ผลกระทบจากอดีตถึงปัจจุบัน. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 11(3 (September-December 2019)).
ประโยชน์ ส่งกลิ่น. (2561). การบริหารรัฐกิจยุคหลังสมัยใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 2). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พิสิฐ ลี้อาธรรม. (2015). การปฏิรูประบบการคลังและการงบประมาณภาครัฐเพื่อวินัยการคลัง. Journal of Economics, 19(Issue 1 (January - June 2015)).
ภัทรวรินทร์ บุญชู. (2563). ปัญหาการควบคุมตรวจสอบวินัยการเงินการคลังของรัฐภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. Graduate Law Journal, 13(2 April – June 2020).
มณเฑียร เจริญผล. (20 ตุลาคม 2565). ประเมินผลนโยบายสาธารณะ: การรักษาวินัยการเงินการคลังของรัฐไทย. (สิทธิศักดิ์ ไชยสุข, ผู้สัมภาษณ์)
ยุทธศาสตร์ หน่อแก้ว, เนติมา ใคร้มุกข์ และ พิกุล สุพนาม. (2563). การบริหารประเทศภายใต้แนวทางประชานิยม: บทเรียนความล้มเหลวจากต่างแดนกับการดำเนินนโยบายประชานิยมของรัฐบาลไทย. วารสารนิติ รัฐกิจ และสังคมศาสตร์,4(2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2563)).
วิรัตน์ สุนทรวิภาต. (27 ตุลาคม 2565). ประเมินผลนโยบายสาธารณะ: การรักษาวินัยการเงินการคลังของรัฐไทย. (สิทธิศักดิ์ ไชยสุข, ผู้สัมภาษณ์)
สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ, สิทธิศักดิ์ ไชยสุข, ยุรีพรรณ วณิชโยบล, และกัญญ์ภัคพิมพ์ มนูญผล. (2565). การฟื้นตัวของประเทศไทยสู่ความยั่งยืนทางการคลังภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19. วารสารคุณภาพชีวิตกับกฎหมาย, 18(1 (January - June 2022)), 121-145.
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. (2565). รายงานสถานการณ์ด้านการคลัง ปีงบประมาณ 2565. สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. เข้าถึงได้จาก https://www.fpo.go.th/
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. (กันยายน 2551). รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยเรื่อง การศึกษาวินัยทางการคลังของประเทศไทย (อดีตสู่ปัจจุบัน) และแนวทางในการเสริมสร้างวินัยทางการคลังตามหลักสากล. เข้าถึงได้จาก https://www.fpo.go.th
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (ธันวาคม 2562). แนวคิดและแนวทางการพัฒนานวัตกรรมเชิงนโยบายของสภาพัฒน์. เข้าถึงได้จาก https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=9745
สินีนาฏ โกมารกุล ณ นคร. (27 ตุลาคม 2565). ประเมินผลนโยบายสาธารณะ: การรักษาวินัยการเงินการคลังของรัฐไทย. (สิทธิศักดิ์ ไชยสุข, ผู้สัมภาษณ์)
อลงกรณ์ กลิ่นหอม. (2561). บทบาทของกลไกการตรวจเงินแผ่นดินในการกำกับการคลังมหาชน. วารสารกฎหมายสงขลานครินทร์, ปีที่ 1(ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2561), 32-45.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 สิทธิศักดิ์ ไชยสุข

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความหรือข้อคิดเห็นใดๆ ในวารสารสหศาสตร์เป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษาแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาให้ครบถ้วนสมบูรณ์
ท่านที่ประสงค์จะส่งบทความ ผลงานวิจัย ข้อคิดเห็นทางวิชาการลงตีพิมพ์วารสารสหศาสตร์ กรุณาส่งมาที่คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล