ผู้หญิงกับการออกกำลังกายด้วยมวยไทยความลื่นไหลทางเพศภาวะ

ผู้แต่ง

  • สุภาวดี ผุงเพิ่มตระกูล คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • พิมพวัลย์ บุญมงคล คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • เพ็ญจันทร์ เชอร์เรอร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

การออกกำลังกายด้วยมวยไทย, ความเป็นหญิง, เพศภาวะ, ฮาบิทัส, การบาดเจ็บ

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายการรับรู้ความเป็นหญิงของผู้หญิงที่ออกกำลังกายด้วยมวยไทยการให้ความหมายต่อการออกกำลังกายด้วยมวยไทยและปัญหาสุขภาพจากการก้าวข้ามไปสู่การออกกำลังกายด้วย มวยไทย โดยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและใช้วิธีการสัมภาษณ์เจาะลึกกลุ่มผู้หญิงที่ออกกำลังกายด้วยมวยไทย 20 คน และจากผู้บริหารและครูมวยอีก 4 คน รวมเป็น 24 คน ในสถานออกกำลังกายด้วยมวยไทยเขตปริมณฑล 2 แห่ง ร่วมกับการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมเป็นเวลา 240 ชั่วโมง ซึ่งผู้วิจัยร่วมออกกำลังกายด้วยเป็นเวลา 4 เดือน โดยใช้แนวคิด เพศภาวะ มาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่าผู้หญิงที่ออกกำลังกายด้วยมวยไทยรับรู้ความเป็นหญิงของตัวเองว่าเป็นเพศที่ด้อยกว่า ต้องเพิ่มความอดทนและความเข้มแข็งในพื้นที่และรับรู้ว่าตนเองมีความเป็นหญิงน้อยกว่าความเป็นชายจากการกระทำที่พูดว่า “แมนๆ” หรือ “ลุยๆ” มีการให้ความหมายการออกกำลังกายด้วยมวยไทยได้แก่ การทำเพื่อสุขภาพ ใช้เป็นทักษะป้องกันตัว ผ่อนคลายอารมณ์ ความสนุก และได้สังคม ซึ่งการออกกำลังกายด้วยมวยไทยก็ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพทางร่างกายของ เอ็นและกล้ามเนื้อ แต่กลับถูกมองว่าเป็นธรรมชาติของการออกกำลังกายจากคำพูดว่า “นักรบย่อมมีบาดแผล” ผู้วิจัยอภิปรายผลการศึกษาในประเด็นความย้อนแย้งของความเป็นหญิงในพื้นที่การออกกำลังกายด้วยมวยไทย

References

จ่าสิบโท เฉลิม อุ่นทอง. (2004). มวยไทยยุคโลกาภิวัตน์. วิทยานิพนธ์, หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาไทยคดีศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
ชาย โพธิสิตา. (2549). ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
มหาวิทยาลัยมหิดล. 23-60
นพวรรณ ระลึกมูล. (2003). เปรียบเทียบผลของการฝึกการเต้นแอโรบิกและแอโรบิกแบบศิลปะมวยไทยที่มีต่อ
สมรรถภาพทางกลไกและเปอร์เซ็นต์ไขมันของร่างกายของนิสิตหญิง. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เพื่อความสมบูรณ์แห่งปริญญาศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต (พลศึกษา).
ประเวศ ภาษสันติ. (2012). แรงจูงใจในการเลือกเล่นกีฬารักบี้ฟุตบอลของนักกีฬาหญิงที่เข้าร่วมการ
แข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติครั้งที่ 26 พ.ศ. 2553. วารสารคณะพลศึกษา, ปีที่ 14 เล่มที่ 1,
235. Retrieved from http://ejournals.swu.ac.th/index.php/pe/article/view/2252
ภัทรวดี เหรียญมณี. (2015). การสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการผ่านสื่อดิจิทัลที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ค่ายมวย (Boxing Gym) เพื่อการออกกำลังกายในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ, หลักสูตร
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย กรุงเทพ.
Retrieved from http://dspace.bu.ac.th/handle/123456789/2114
สุชาดา ทวีสิทธิ์. (2004). เพศภาวะ: การท้าทายร่าง การค้นหาตัวตน. ศูนย์สตรีศึกษา, คณะสังคมศาสตร์,
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 4-20
สุนีย์ ประสงค์บัณฑิต. (2010). แนวความคิดฮาบิทัสของปิแอร์ บูร์ดิเยอ กับทฤษฎีทางมานุษยวิทยา.
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). เอกสารวิชาการลำกับที่ 84, 69-185
อคิน รพีพัฒน์. (2008). วัฒนธรรมคือความหมาย: ทฤษฎีและวิธีการของคลิฟฟอร์ด เกียร์ซ.
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). เอกสารวิชาการลำกับที่ 70, 71-149
Courtenay, W. H. (2010). Constructions of Masculinity and their Influence on Men’s Well-Being. College Men and Masculinities: Theory, Research, and Implications for Practice, 307.
De Lind van Wijngaarden, J. W. (2014). Being both and acting “man”: exploring patterns of masculinisation among young same-sex-attracted men in Thailand. Culture, Health & Sexuality, 16(9), 1128–1140. https://doi.org/10.1080/13691058.2014.939595
Evans, J., Frank, B., Oliffe, J. L., & Gregory, D. (2011). Health, illness, men and masculinities (HIMM): a theoretical
framework for understanding men and their health. Journal of Men’s Health, 8(1), 7–15.
Gartland, S., Malik, M. H. A., & Lovell, M. E. (2001). Injury and injury rates in Muay Thai kick boxing. British Journal of Sports Medicine, 35(5), 308–313.
Hargreaves, J. (1997). Women’s Boxing and Related Activities: Introducing Images and Meanings.
Body & Society, 3(4), 33–49.
https://doi.org/10.1177/1357034X97003004002
Jung Woo Lee. (2009). Red Feminism and Propaganda in Communist Media: Portrayals of Female Boxers in the North Korean Media. International Review for the Sociology of Sport, 44(2–3), 193–211. https://doi.org/10.1177/1012690209338438
Mennesson, C. (2000). ‘HARD’ WOMEN AND ‘SOFT’ WOMEN: The Social Construction of Identities among Female Boxers. International Review for the Sociology of Sport,
35/1, 21-33
Nash, M. (2015). Gender on the ropes: An autoethnographic account of boxing in Tasmania, Australia. International Review for the Sociology of Sport, 1012690215615198.
Paradis, E. (2012). Boxers, Briefs or Bras? Bodies, Gender and Change in the Boxing Gym.
Body& Society, 18(2), 82–109. https://doi.org/10.1177/1357034X12440829
Robertson, S. (2009). Theories of masculinities and men’s health-seeking practices. Nowhere Man’s Press. Retrieved April, 9(2012), 149–172.
Sherry B. Ortner. (1996). The Politics and Erotics of Culture. Boston: Beacon Press, Chapter 1, pp.1-20
Strelan, P., Mehaffey, S. J., &Tiggemann, M. (2003). Brief report: Self-objectification and esteem in young women: The mediating role of reasons for exercise. Sex Roles, 48(1–2), 89 – 95.
Thorpe, H. (2010). Bourdieu, Gender Reflexivity, and Physical Culture: A Case of Masculinities in the Snowboarding Field. Journal of Sport & Social Issues, 34(2), 176–214. https://doi.org/10.1177/0193723510367770
ญ หญิง ถึง ญ หญิง. (2556). ผู้หญิงยุคใหม่ สวยด้วยมวยไทย. (ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อ 6 สิงหาคม 2560 จาก
http://www.praphansarn.com/article/detail/1273#title
ไทยรัฐ ออนไลน์. (2559). ‘ผู้หญิงควรมีวิชาป้องกันตัว’ เทรนด์กำลังมา สาวรุ่นใหม่แห่เรียนมวยไทย. (ออนไลน์)
เข้าถึงเมื่อ 6 สิงหาคม 2560 จาก https://www.thairath.co.th/content/671302
ผู้จัดการออนไลน์. (2552). “Fairtex”ค่ายมวยใจกลาง RCA ปลุกกระแสมวยไทย...ใครก็ฝึกได้.(ออนไลน์). เข้าถึงเมื่อ 1
สิงหาคม 2560 จาก http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9520000089692
รายการ Go for gaol. (2558). มวยไทย เทรนด์ออกกำลังกายผู้หญิงยุคใหม่. (ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อ 6 สิงหาคม 2560
จาก http://shows.voicetv.co.th/goforgoal/161535.html
รายการ Go for gaol. (2558). มวยไทยหญิง เทรนด์กีฬาป้องกันตัวผู้หญิงยุคใหม่. (ออนไลน์) เข้าถึง เมื่อ 6 สิงหาคม
2560 จาก http://shows.voicetv.co.th/goforgoal/295068.html
ศูนย์คริสตศาสนธรรม สังฆมณฑล ราชบุรี. (2539). กุลสตรีไทย (มารยาท). (ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อ 1 สิงหาคม 2560
จาก http://www.kamsondeedee.com/main/ccp/139-ccp-282
Kookai Chaimahawong. (2559). 6 ยิมมวยไทยในกรุงเทพ ให้คุณไปตามกระแสเทรนด์ฟิตแอนด์เฟิร์ม. (ออนไลน์)
เข้าถึงเมื่อ 6 สิงหาคม 2560 จาก https://www.siam2nite.com/th/magazine/lifestyle/item/470-6-bangkok-muay-thai-gyms-for-fun-and-efficient-full-body-workout
Lady manager. (2556). กูรูมวย “จิต เชี่ยวสกุล” เผยเหตุหญิงติดใจเตะต่อย เรียกเหงื่อ รีดน้ำหนัก ปลดปล่อยสนุก สุดเหวี่ยง. (ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อ 6 สิงหาคม 2560 จาก http://www.manager.co.th/celebonline/viewnews.aspx?NewsID=9560000024106
Lady manager. (2556). ตกหลุมรักมวยไทย! “เจี๊ยบ-โสภิตนภา” ออกหมัดฮุคไขมัน น็อคภูมิแพ้ แย็บ เลือดฝาด.
(ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อ 6 สิงหาคม 2560 จาก http://www.manager.co.th/celebonline/viewnews.aspx?NewsID=9560000023584
Positioning magazine. (2555). มวยไทยเทรนดี้. (ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อ 6 สิงหาคม 2560 จาก
http://positioningmag.com/14746
Pui.lab. (2552). ความเป็นกุลสตรีไทย. (ออนไลน์). เข้าถึงเมื่อ 1 สิงหาคม 2560 จาก
http://www.baanmaha.com/community/threads/24222-ความเป็นกุลสตรีไทย
Sanook life. (2556). ผู้หญิงยุคใหม่ สวยด้วยมวยไทย. (ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อ 6 สิงหาคม 2560 จาก
http://sanooklifes.blogspot.com/2013/08/blog-post_543.html
Tanapon Raomanachai. (2556). ผู้หญิงกับการออกกำลังกายด้วยมวยไทย. (ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อ 6 สิงหาคม 2560
จาก http://news.voicetv.co.th/living/85014.html

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-31