โลจิสติกส์การท่องเที่ยวที่มีผลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
คำสำคัญ:
โลจิสติกส์การท่องเที่ยว, ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว, อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับความพึงใจของนักท่องเที่ยวต่อโลจิสติกส์การท่องเที่ยว และวิเคราะห์อิทธิพลของโลจิสติกส์การท่องเที่ยวที่มีต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว โดยรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม จากนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มาเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่จำนวน 384 ราย และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน ซึ่งผลการวิจัยพบว่า นักท่องเที่ยวมีความพึงพอใจต่อโลจิสติกส์การท่องเที่ยวในภาพรวมด้านการไหลทางกายภาพ ด้านการไหลทางข้อมูล และด้านการให้บริการอยู่ในระดับมาก นอกจากนี้ยังพบว่า โลจิสติกส์การท่องเที่ยวมีอิทธิพลทางบวกต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยโลจิสติกส์การท่องเที่ยวด้านการให้บริการมีผลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวมากที่สุด ส่วนโลจิสติกส์ด้านการไหลทางกายภาพมีผลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวน้อยที่สุด
References
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis (7th ed.). New York: Pearson.
Hultman, M., Skarmeas, D., Oghazi, P., & Beheshti, H. M. (2015). Achieving tourist loyalty through destination personality, satisfaction, and identification. Journal of Business Research, 68(11), 2227-2231.
Langley, C. J., Coyle, J. J., Gibson, B., Novack, R. A., & Bardi, E. J. (2009). Managing Supply Chain: A Logistics Approach. Tennessee: South-Western College.
Ramseook-Munhurrun, P., Seebaluck, V. N., & Naidoo, P. (2015). Examining the Structural Relationships of Destination Image, Perceived Value, Tourist Satisfaction and Loyalty: Case of Mauritius. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 175, 252-259.
Shahrivar, R. B. (2012). Factors That Influence Tourist Satisfaction. Journal of Travel and Tourism Research(Special Issue), 61-79.
Statistics Solutions. (2018). Cronbach’s Alpha. Retrieved from http://www.statisticssolutions.com/ cronbachs-alpha/
Sukiman, M. F., Omar, S. I., Muhibudin, M., Yussof, I., & Mohamed, B. (2013). Tourist Satisfaction as the Key to Destination Survival in Pahang. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 91, 78-87. doi:https://doi.org/10.1016/j.sbspro.2013.08.404
Suthathip Suanmali. (2014). Factors Affecting Tourist Satisfaction: An Empirical Study in the Northern Part of Thailand. Paper presented at the SHS Web of Conferences.
Wang, Y. (2016). More Important Than Ever: Measuring Tourist Satisfaction. Retrieved from Queensland, Australia:
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2560). สถิตินักท่องเที่ยว. สืบค้นจาก https://www.mots.go.th/more_ news.php?cid=411
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2561). เที่ยวลดหย่อนภาษีเมืองรอง 55 จังหวัด. สืบค้นจาก https://thai. tourismthailand.org/
ขวัญกมล ดอนขวา, และจิตตานันท์ ติกุล. (2557). การพัฒนาคุณภาพการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี (สังคมศาสตร์), 8(1), 55-71.
คมสัน สุริยะ. (2551). กรอบแนวคิดในการวิเคราะห์เรื่องโลจิสติกส์สำหรับการท่องเที่ยว. สืบค้นจาก http://tourismlogistics.com/index.php?option=com_content&view=article&id=71:concept-tourism-logistics&catid=64:conceptual-framework&Itemid=78
เถกิงศักดิ์ ชัยชาญ. (2555). การจัดการโลจิสติกส์สำหรับการท่องเที่ยวในอำเภอวังน้ำเขียวจังหวัดนครราชสีมา. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี (สังคมศาสตร์), 6(2), 17-33.
เถกิงศักดิ์ ชัยชาญ. (2556). การพัฒนาคุณภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. สืบค้นจาก http://sutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/5233/2/Fulltext.pdf:
ธนกฤต สุทธินันทโชติ. (2559). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยในอุทยานแห่งขาติธารเสด็จ - เกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี. (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, สุราษฎร์ธานี.
บุรินทร์ รุจจนพันธุ์. (2556). เกณฑ์การแปลความหมาย. สืบค้นจาก http://www.thaiall.com/blog/burin/4967/
ประชาชาติธุรกิจ. (2561, 4 มกราคม 2561). จับตา ! ท่องเที่ยวไทยปี”61 ททท.ตั้งเป้ากวาดรายได้รวม 3.1 ล้านล้าน. สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/tourism/news-95937
พัลลภัช เพ็ญจำรัส, วลักษ์กมล คงยัง, และโสภิดา ส่งแสง. (2554). โครงการวิจัยการศึกษาแนวทางการพัฒนาโลจิสติกส์สำหรับการท่องเที่ยวจังหวัดสงขลา. สืบค้นจาก http://kb.psu.ac.th /psukb/bitstream/2010/8658/1/361531.pdf
มิ่งสรรพ์ ขาวสะอาด และคณะ. (2551). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการที่ยั่งยืนในลุ่มแม่น้ำโขง. สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่:
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). รายงานโลจิสติกส์ของประเทศไทยประจำปี 2560. สืบค้นจาก http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7756
สุจิดา ศรีไชยวาน, และขวัญกมล ดอนขวา. (2556). ห่วงโซ่อุปทานการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร, 7(1), 36-47.
สุรพงษ์ คงสัตย์, และธีรชาติ ธรรมวงศ์. (2551). การหาค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม (IOC). สืบค้นจาก http://www.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article_id=656&articlegroup_id=146
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความหรือข้อคิดเห็นใดๆ ในวารสารสหศาสตร์เป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษาแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาให้ครบถ้วนสมบูรณ์
ท่านที่ประสงค์จะส่งบทความ ผลงานวิจัย ข้อคิดเห็นทางวิชาการลงตีพิมพ์วารสารสหศาสตร์ กรุณาส่งมาที่คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล