Globalization and Politics: A Critique of Stephen Gill’s Postmodern Views

ผู้แต่ง

  • Gary Waddell วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

บทคัดย่อ

จุดเริ่มต้นหลักจากแนวคิดมาร์กซิสต์หรือลัทธิมากซ์ของสตีเฟ่น กิล คือการใช้วาทกรรมเพื่อที่จะเปิดพื้นที่เป็นไปได้ของแนวคิดเสรีนิยมใหม่ พื้นที่แนวคิดใหม่นี้เป็นการรวมกันของแนวคิดหลังสมัยใหม่และแนวคิดมาร์กซิสต์ที่ทำให้ข้อโต้แย้งของกิลเป็นประด็นขัดแย้งกันในหมู่นักคิด ตั้งแต่แนวคิดมาร์กซิสต์ทำให้เกิดมุมมองวัตถุนิยมเชิงประวัติศาสตร์ที่กล่าวว่าสิ่งใดก็ตามที่มนุษย์สร้างขึ้นและความสัมพันธ์ของมนุษย์ต่อสิ่งที่พวกเขาสร้างขึ้นเป็นตัวกำหนดชีวิตเชิงสังคม การเมือง และปัญญา ทั้งนี้อุดมการณ์มาร์กซิสต์ คือ “โครงสร้างมนุษยนิยม” ที่เป็นที่เข้าใจโดยทั่วไปว่าปัจเจกบุคคลคือบุคคลที่มีสติสัมปชัญญะ มีเสถียรภาพ มีความเป็นปึกแผ่น มีเหตุและผล และมีความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน ตั้งแต่ฟูโกต์และนักคิดแนวคิดเสรีนิยมใหม่ตั้งประเด็นคำถามถึงการมีอยู่ของปัจเจกบุคคลอันเป็นนิรันดร์ สิ่งนี้เป็นปัญหาในการตีความประเด็นโต้แย้งของกิล

References

Gill, S. (2003). Globalization Market Civilization and Disciplinary Neo-Liberalism. In Power and Resistance in the New World Order, 116-142. Palgrave Macmillan.

McGrew, A. (2008). The Logistics of Economic Globalization. In Global Political Economy, 280-311. Oxford University Press, USA.

Pierre, A. S. E. (2000). Poststructural feminism in education: An overview. Qualitative Studies in Education, 13(5): 477-515.

Steger, M. B. (2002). 'The academic Debate over Globalization. In Globalism: the New Market Ideology. Rowman & Littlefield Publishers.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-08-28