การพัฒนาระบบบริหารจัดการงานยานพาหนะ หาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
คำสำคัญ:
ระบบบริหารจัดการงานยานพาหนะ , การพัฒนาระบบจองรถ , งานยานพาหนะบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบบริหารจัดการงานยานพาหนะ 2) ศึกษาคุณภาพของระบบบริหารจัดการงานยานพาหนะ 3) ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบบริหารจัดการงานยานพาหนะ โดยมกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน จำนวน 89 คน โดยใช้วิธีคัดเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบประกอบด้วย แผนภาพไดอะแกรม แผนภาพกระแสข้อมูล แบบจำลองอีอาร์ พจนานุกรมข้อมูล การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ และเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบวิเคราะห์หาตัวแบบมาตรฐานของระบบบริหารจัดการงานยานพาหนะ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี แบบประเมินคุณภาพระบบ และแบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งาน มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.90 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ระบบบริหารจัดการงานยานพาหนะ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี มีผลประเมินประสิทธิภาพระบบโดยผู้เชี่ยวชาญด้านระบบสารสนเทศนั้นอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม มีคุณภาพ สามารถใช้งานได้จริง การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบ โดยทำการทดลองใช้งานด้านนำเข้าข้อมูล กระบวนการทำงาน และการแสดงผลจัดอยู่ในระดับดี
References
กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และพนิดา พานิชกุล. (2548). คัมภีร์การวิเคราะห์และออกแบบระบบกรุงเทพฯ: เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์.
จตุชัย แพงจันทร์. (2546). เจาะระบบ Network ฉบับสมบูรณ์. นนทบุรี: ไอดีซี.
จปนันท์ คำแสน. (2551). การพัฒนาโปรแกรมระบบบริหารฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนระบบสารสนเทศ ของกองฝึกอบรม กรมทางหลวง = A development database management system program for supporting the information system of Training Division, Department of Highways. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
จิตติมา เทียมบุญประเสริฐ. (2544). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
เจนจิรา แจ่มศิริ และคัชรินทร์ ทองฟัก. (2561). การพัฒนาระบบการจองห้องประชุมออนไลน์. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก.
ธัชกร วงษคำชัย และฐัชแกว ศรีสด. (2557). การพัฒนาระบบคลังข้อสอบวัดความรู้เและมาตรฐานวิชาชีพด้านคอมพิวเตอร์ธุรกิจสำหรับนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
ธีรวัฒน์ ประกอบผล และเอกพันธุ์ คำปัญโญ. (2552). การวิเคราะห์และการออกแบบระบบ. กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย.
นิชาภา นพประภา และคณะ. (2560). ระบบบริหารจัดการยานพาหนะแบบออนไลน์ด้วยสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ.
ภัทรพล พรหมมัญ. (2565). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้การออกแบบเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียนโปรแกรมของนักศึกษาระดับปริญญาตรีด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
ลักษณา รมยสมิต. (2564). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการพึ่งตนเองร่วมกับเทคนิคการสืบเสาะหาความรู้เสมือน เพื่อเสริมทักษะการวิเคราะห์และออกแบบระบบโดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
วเรวรรณ รอดราวี. (2560). การวิเคราะห์และออกแบบระบบจองรถยนต์ราชการส่วนกลาง. กรุงเทพฯ: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วิพุธพงศ์ มั่นจิตต์. (2553). ระบบบริหารจัดการการจองรถยนต์ธุรกิจ กรณีศึกษากลุ่มธุรกิจธนาคาร. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร
ศศิวิมล ขจรคำ. (2554). การพัฒนาระบบคลังข้อสอบเพื่อการสอบประมวลผลความรู้วิชาหลัก
เบื้องต้นเกี่ยวกับสารสนเทศ. เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศิโรรัตน์ ไกรสุริยวงศ์. (2551). ความต้องการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการของครูโรงเรียน เอกชน สังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดปทุมธานี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
สงกรานต์ ทองสว่าง. (2548). My SQL ระบบฐานข้อมูลสำหรับอินเทอร์เน็ต. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สมจิตร อาจอินทร์. (2549). หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล. ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์.
สายรุ้ง แสวงลาภ. (2565). การพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อควบคุมการให้บริการจองห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์และห้องฝึกอบรมออนไลน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ. สมุทรปราการ: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
สุภาวดี มากอ้น และคณะ. (2558). การพัฒนาระบบจองยานพาหนะออนไลน์ผ่าน Web Application ภายในวิทยาลัยรัตภูมิ. สงขลา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.
อรยา ปรีชาพานิช. (2557). คู่มือเรียน การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design) ฉบับสมบูรณ์. นนทบุรี: ไอดีซี พรีเมียร์.
โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2548). การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
Versions
- 2024-07-03 (2)
- 2024-06-28 (1)
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีและบุคลากรท่านอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว