การวิเคราะห์เส้นทางกลยุทธ์ด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม
คำสำคัญ:
กลยุทธ์สิ่งแวดล้อม , การบัญชีบริหารสิ่งแวดล้อม , ความสามารถเชิงพลวัตขององค์กรบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบกรอบแนวคิดที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์ด้านสิ่งแวดล้อม การบัญชีบริหารสิ่งแวดล้อม ความสามารถเชิงพลวัตขององค์กร และผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบริษัทที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 14001 ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จำนวน 208 บริษัท ตัวแปรประกอบด้วย กลยุทธ์ด้านสิ่งแวดล้อม การบัญชีบริหารสิ่งแวดล้อม ความสามารถเชิงพลวัตขององค์กร และผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เส้นทางโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่าโมเดลตามสมมติฐานการวิจัยสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยตัวแปรที่ศึกษาในการทำวิจัยได้แก่ กลยุทธ์ด้านสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม การบัญชีบริหารสิ่งแวดล้อมและความสามารถเชิงพลวัตขององค์กร ด้วยขนาดอิทธิพลเท่ากับ 0.763, 0.567 และ 0.643 ตามลำดับ นอกจากนี้การบัญชีบริหารสิ่งแวดล้อมและความสามารถเชิงพลวัตขององค์กรมีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม ด้วยขนาดอิทธิพลเท่ากับ 0.328 และ 0.493 ตามลำดับ
References
กรธวัฒน์ สกลคฤหเดช. (2559). โมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของความสามารถเชิงพลวัต ความได้เปรียบทางการแข่งขันและความสำเร็จของธุรกิจในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร. 12 (1), น. 32-44.
ชลลดา เลิฟ, พัทธนันท์ เพชรเชิดชู. (2562). ผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาลกับคุณภาพกำไร. สุทธิปริทัศน์. 33 (106), น. 179-194.
ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน. (2561). การประยุกต์ใช้ SPSS วิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 8). มหาสารคาม : ตักสิลาการพิมพ์.
ธนิต รัชตะชาติ. (2560). ปัจจัยองค์ประกอบที่ส่งผลต่อความสมารถเชิงพลวัตขององค์กรที่ดำเนินธุรกิจ ประเภทไอทีซิสเต็มอินทิเกรเตอร์และบริการด้านไอทีในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นิศาชล รัตนมณี และประสพชัย พสุนนท์. (2562). อัตราการตอบกลับของแบบสอบถามในงานวิจัยเชิงปริมาณ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี. 13 (3). น. 181-188.
พูลพงศ์ สุขสว่าง. (2557). หลักการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 6 (2), น. 136-145.
ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2552). การบัญชีสิ่งแวดล้อม. วารสารวิชาชีพบัญชี. 5 (12), น. 21-24.
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2565). รายชื่อผู้ได้รับการรับรองระบบงาน. ค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2565, จาก http://appdb.tisi.go.th/tis_dev/p7_iso9000/iso_info.php#.
สุนิสา นนจันทร์ และสายทิพย์ จะโนภาษ. (2564). ผลกระทบของการประยุกต์ใช้การบัญชีสิ่งแวดล้อมที่มีต่อภาพพจน์องค์กรของธุรกิจใจนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 13 (2), น. 167-177.
Bresciani, S., Rehman, S. U., Alam, G. M., Ashfaq, K. & Usman, M. (2023). Environmental MCS package, perceived environmental uncertainty and green performance: in green dynamic capabilities and investment in environmental management perspectives. Review of International Business and Strategy. 33 (1), pp. 106-126.
Burritt, R.L., Hahn, T., & Schaltegger, S. (2002). Towards a comprehensive framework for environmental management accounting – links between business actors and environmental management accounting tools. Australian Accounting Review. 12 (2), pp. 39-50.
Ferreira, A., Moulang, C., & Hendro. B. (2010). Environmental management accounting and innovation: an exploratory analysis, Accounting, Auditing & Accountability Journal. 23 (7), pp. 920-948.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis. (7t้h Edition). Pearson, New York.
Larrinaga-Gonzalez, C., & Bebbington, J. (2001). Accounting change or institutional appropriation?—A case study of the implementation of environmental accounting. Critical Perspectives on Accounting. 12 (3), pp. 269-292.
Lisi, I.E. (2015). Translating environmental motivations into performance: the role of Research. 29 (1), pp. 27-44.
Magara, R., Aming, N. N., & Momanyi, E. (2015). Effect of Environmental Accounting on Company Financial Performance in Kisii County. British Journal of Economics, Management & Trade. 10 (1). pp. 1-11.
Pondeville, S., Swaen, V., & Rongé, Y.D. (2013). Environmental management control systems: the role of contextual and strategic factors. Management Accounting Research. 24 (4), pp. 317-332.
Rodrigue, M., Magnan, M., & Boulianne, E. (2013). Stakeholders’ influence on environmental strategy and performance indicators: a managerial perspective. Management Accounting Research. 24 (4), pp. 301-316.
Solovida, G. T., & Latan, H. (2017). Linking environmental strategy to environmental performance: Mediation role of environmental management accounting. Sustainability Accounting, Management and Policy Journal. 8 (5), pp. 595-619.
Ullmann, A.A. (1976). The corporate environmental accounting system: a management tool for fighting environmental degradation. Accounting, Organizations and Society. 1 (1), pp. 71-79.
Wagner, M., & Schaltegger, S. (2004). The effect of corporate environmental strategy choice and environmental performance on competitiveness and economic performance: an empirical study of EU manufacturing. European Management Journal. 22 (5), pp. 557-572.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
Versions
- 2024-06-28 (3)
- 2023-12-26 (1)
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีและบุคลากรท่านอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว