การพัฒนาโปรแกรมประเมินการลงทุนธุรกิจของผู้ประกอบการเกษตร และอาหารแปรรูปตามแนวเขตเศรษฐกิจพิเศษสระแก้ว
คำสำคัญ:
การลงทุนธุรกิจ, ผู้ประกอบการ, โปรแกรมประเมินบทคัดย่อ
การพัฒนาโปรแกรมประเมินการลงทุนธุรกิจของผู้ประกอบการเกษตรและอาหารแปรรูป ตามแนวเขตเศรษฐกิจพิเศษสระแก้วนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาโปรแกรมแบบออนไลน์ในการลงทุนธุรกิจ ของผู้ประกอบการเกษตรและอาหารแปรรูปตามแนวเขตเศรษฐกิจพิเศษสระแก้ว โดยเขียนด้วยภาษา PHP ใช้โครงสร้างฐานข้อมูลเป็นแบบ XML รองรับการทำงานบน Web Browser Chrome และจดโดเมน ชื่อ www.seiafpb.com เพื่อเป็นโปรแกรมช่วยคำนวณให้กับผู้ใช้งานสามารถเข้าถึง และมีความสะดวก ในการใช้งานบนฐานของการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสมัยใหม่ ผลการวิจัยพบว่า ผลการนำโปรแกรม การประเมินการลงทุนธุรกิจของผู้ประกอบการเกษตรและอาหารแปรรูปตามแนวเขตเศรษฐกิจพิเศษ สระแก้วแบบออนไลน์ พบว่า จังหวัดที่ติดชายแดนไทย-กัมพูชา (บุรีรัมย์สุรินทร์และศรีสะเกษ) มีระดับ คะแนนสูงกว่าผู้ประกอบการในการลงทุนธุรกิจเกษตรและอาหารแปรรูป ตามแนวเขตเศรษฐกิจพิเศษสระแก้ว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (p-value < 0.01)
References
ชิตพลชัยมะดัน และศรุติสกุลรัตน์. (2558). นโยบายการค้าชายแดนไทย-กัมพูชากับการปรับตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน: กรณีศึกษาจังหวัดสระแก้ว. วารสารราชพฤกษ์. 13(2), น. 76-85.
มณีรัตน์การรักษ์. (2558). การพัฒนาตลาดการค้าชายแดนไทย-กัมพูชา กรณีศึกษาตลาดการค้าชายแดน ช่องจอมจังหวัดสุรินทร์. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. 5(1), น. 35-43.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห ่งชาติ. (2558). เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน. สำนักยุทธศาสตร์และการวางแผนพัฒนาพื้นที่. ค้นเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2561,จากhttps://data.opendevelopmentmekong.net/.../4border-special-economic-zones-develop.
สุมามาลย์ปานคำ และเสรีชัดแช้ม. (2560). การพัฒนาวิธีการวัดฉันทามติของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญโดยใช้ทฤษฎีรัฟเซตในเทคนิคเดลฟายแบบอิเล็กทรอนิกส์. วารสารวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา. 14(2),น. 87-101.
Alrashidi, Y. (2016). The Influence of SMEs Decision-Makers’ Individual Characteristics on Risk Perception Associated with Exporting: Evidence from Saudi Arabia. European.Journal of Business and Management. 8(2), pp. 51-61.
Bajçinca, E. (2015). Some features of investing SMEs in Kosovo. Journal of Economics and Political Economy. 2(2), pp. 309-316.
Chowdhury. M.S, Alam. Z. & Arif. I. (2013). Success Factors of Entrepreneurs of Small and Medium Sized Enterprises: Evidence from Bangladesh. Business and Economic Research. 3(2), pp. 38-52.
Chou, C. (2002). Developing the e-Delphi system: a web-based forecasting tool foreducational research.British Journal of Educational Technology. 33(2), pp. 233- 236.
Creswell, J. W. (2014). Educational Research: Planning, Conducting, and Evaluating Quantitative and Qualitative Research. (4 th ed.). USA: Pearson.
Edmonds, W. A., & Kennedy,T. D. (2013). An Applied Reference Guide to Research Designs: Quantitative, Qualitative, and Mixed Methods.Thousand Oaks: SAGEPublications.
Frese, M. (2000). Success and Failure of Microbusiness Owners in Africa: A Psychological Approach. California: Greeenwoo
Haji, M. A. M. , Njuki, H. M., Okoth, O. N., Musyoka, F. M., Mwambota, M. & Rono, G. K. (2013). Assessment of Small and Medium Enterprises Alignment of Investment Decisions to overall Business Strategy in Mombasa County, Kenya. International Knowledge Sharing Platform. 5(24), pp. 1-9.
Kamitewoko, E. (2013). Determinants of entrepreneurship success: An examination of Chinese-owned businesses in Congo Brazzaville. Chinese Studies. 2(3), pp. 113-120.
Kaplan, R. S., & Norton, D. P. (2007). Using the balanced scorecard as a strategic management system. Harvard Business Review. 85(7-8), pp. 35-61.
Kotler,P. (1997). Marketing Management: Analysis, Planning Implementation and Control. (9 th ed). New Jersey: Asimmon & Schuster.
Polit, D.F.,Beck, C.T., & Owen,S.V. (2007).Focusonresearchmethods: Is the CVIanacceptable indicator of content validity? appraisal and recommendations. Research in Nursing and Health. 30(1), pp. 459-467.
Wiltbank,R., Dew, N., & Read,S. (2015). Investment and Returns inSuccessfulEntrepreneurial Sell-O
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีและบุคลากรท่านอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว