ภาวะแห่งการตื่นรู้ ศักยภาพของมนุษย์ในพุทธศาสนานิกายเซน
คำสำคัญ:
ภาวะแห่งการตื่นรู้, ศักยภาพของมนุษยชาติ, พุทธศาสนานิกายเซนบทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งวิเคราะห์และอภิปรายแนวคิดเรื่องภาวะแห่งการตื่นรู้ในพุทธศาสนานิกายเซน เพื่อแสวงหาแนวทางในการขจัดข้อขัดแย้งทางสังคม อันเกิดมาจากความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา และอุดมการณ์ทางการเมือง ผลแห่งการอภิปรายพบว่า ภาวะแห่งการตื่นรู้หรือธรรมชาติแห่งพุทธะที่มีอยู่ภายในตัวของมนุษย์ทุกคน ฉะนั้น สิ่งที่มนุษย์ควรทำคือมองให้เห็นถึงธรรมชาติที่แท้จริงของตนเองแล้วตระหนักรู้ธรรมชาติแห่งพุทธะที่มีอยู่ในตน อันจะนำไปสู่การเคารพในตนเองและผู้อื่น ดำรงอยู่อย่างมีสุขและสันติ ไร้การแบ่งแยกในด้านเชื้อชาติ ศาสนา หรือรูปแบบการใช้ชีวิตใด ๆ การตระหนักรู้ดังกล่าวสามารถเกิดขึ้นได้โดยตรง โดยไม่ต้องอาศัยการมีสติปัญญาที่สูงส่ง การคิดวิเคราะห์ทางตรรกะ หรือการใช้ภาษาที่ฟุ่มเฟือยแต่อย่างใด เมื่อสรรพสัตว์ได้เข้าถึงธรรมชาติแห่งพุทธะที่มีอยู่ในตัวเองแล้ว ชีวิตของเขาก็จะตื่นรู้ เป็นสุข และเบิกบาน
References
จงชัย เจนหัตถการกิจ. (2538). บันทึกของรินไซ. แปลจาก Irmgard Schloegl, tr. The Zen Teaching of Rinzai, กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.
โบลฟีล, เจ .(2531ก). คำสอนของฮวงโป. แปลจาก The Zen Teaching of Huang Po โดย พุทธทาสภิกขุ.กรุงเทพมหานคร:ธรรมสภา.
พจนา จันทรสันติ. (2536). ดอกไม้ไม่จำนรรค์. แปลจาก Zenkai Shibayama A Flower Does Not Talk, กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สมิต.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2558). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ผลิธรรม.
มู-แลม, ดับบิว. (2531ข). สูตรของเว่ยหล่าง. แปลจาก The Sutra of Hui-Neng. โดย พุทธทาสภิกขุ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมบูชา.
สำนักข่าวอินโฟเควสท์. (2556). นพดลแถลงหยุดเรียกร้องนายกฯ ลาออก ยัน กปปส.ไม่ใช่เสียงส่วนใหญ่ของ ประเทศ. ค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.infoquest.co.th/news/2013-3ba6fb14a0dd30151d801d626bd06198
Batchelor, Stephen. (1994). The Awakening of the West. The Encounter of Buddhism and Western Culture. California: Berkeley.
BBC. (2020). George Floyd: What happened in the final moments of his life. Retrieved May 30, 2020, from www.bbc.com/news/world-us-canada-52861726.
Bose, Kurethara S. (1996). The Theoretical Foundations of Zen Buddhism in The Eastern Buddhist. New Series. Kyoto: Vol.29 No.1 Spring, 1996. pp.85-98.
FOX Business. (2020). George Floyd killing has Starbucks, JPMorgan, AT&T addressing racial injustice. Retrieved May 30, 2020, from www.foxbusiness.com/markets/starbucks-memo-george-floyd-verizon-att-cvs-racial-injustice.
Fromm, Erich. Daisetz Teitaro Suzuki and Richard De Martino. (1960). Zen Buddhism and Psychoanalysis. New York: Harper colophon books.
Hobbes, Thomas. (1991A). Man and Citizen. Cambridge: Hackett Publishing Company.
Hobbes, Thomas. (1991B). Leviathan. (ed). Richard Tuck. Cambridge: Cambridge University Press.
Humphreys, Christmas. (1957). Zen Buddhism. London: George Allen & Unwin.
Minoque, K. R. (1972). “Hobbes and the Just Man” in Maurice Cranston and Richard S. Peters (eds), Hobbes and Rousseau: A Collection of Critical Essays. New York: Anchor Books.
Reuters (2021). Asian Americans 'screaming out for help' as abuse surges: congressional hearing. Retrieved March 21, 2021. from https://www.reuters.com/article/us-usa-house-hate-crimes-idUSKBN2BA24N
Suzuki, D.T. (1960). Manual of Zen Buddhism. New York: Grove Press.
Suzuki, D.T. (1965). Zen and Japanese Buddhism. Tokyo: Japan Travel Bureau.
Suzuki, D.T. (1973). Essays in Zen Buddhism. London: Rider & Company.
Warrender, Howard. (1957). The Political Philosophy of Hobbes. London: Oxford University Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีและบุคลากรท่านอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว