ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดทำบัญชีครัวเรือนของชุมชนบางไส้ไก่ แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • อุษา จูฑะสุวรรณศิริ สาขาวิชาบัญชีมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

คำสำคัญ:

ปัจจัย, บัญชีครัวเรือน, ชุมชนบางไส้ไก

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์1) การศึกษาการจัดทำบัญชีครัวเรือนของชุมชนบางไส้ไก่ แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรีกรุงเทพมหานคร 2) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำบัญชีครัวเรือน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 3) แนวทางการจัดทำบัญชีครัวเรือนของชุมชนบางไส้ไก่ แขวงหิรัญรูจีเขตธนบุรีกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ ประชาชนในชุมชนบางไส้ไก่ จำนวน 248 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติคือ สถิติพรรณนาได้แก่ค่าความถี่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ได้แก่การทดสอบ ค่าทีการทดสอบค่าเอฟ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้ เทคนิคการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาที่สำคัญ พบว่า 1) ระดับการจัดทำบัญชีครัวเรือนโดยรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง 2) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำบัญชีครัวเรือนได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ รายจ่าย มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) แนวทางในการจัดทำบัญชีครัวเรือนที่สำคัญ คือ ต้องทำอย่างสม่ำเสมอจึงจะเกิดประโยชน์ต่อตนเอง

References

ณัฐสุภา จิวศิวานนท์. (2557). การส่งเสริมการจัดทำบัญชีครัวเรือนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืน : กรณีศึกษาชุมชนหลังไปรษณีย์สำเหร่ เขตธนบุรี. กรุงเทพมหานคร : คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

นภาพร ลิขิตวงศ์ขจร. (2550). บัญชีครัวเรือน : เครื่องมือสู่เศรษฐกิจพอเพียง. วารสารศูนย์บริการวิชาการ. 15(3), น. 25-29.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหนคร : สุวีริยาสาส์น.

ภัทรา จิตรแสงสว ่าง และศิริรัตน์ เจนศิริศักดิ์. (2558). ความสัมฤทธิ์ผลของการบริการวิชาการกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในกรณีการจัดทำบัญชีครัวเรือน บ้านนาเรืองน้อย ตำบลนาเรือง อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี. น. 489-502. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติครั้งที่ 626 มิถุนายน 2558 มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

ภัทรา เนืองสินปัญญา. (2555). บัญชีครัวเรือน เรื่องใกล้ตัวที่ถูกมองข้าม. วารสารวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์. 7(1), น. 20-28.

รพีพร คำชุ่ม. (2550). ความรู้ความเข้าใจในการจัดทำบัญชีครัวเรือน : กรณีศึกษา เกษตรกรในเขตอำเภอเมือง จังหวัดน่าน. การค้นคว้าแบบอิสระบัญชีมหาบัญฑิตสาขาวิชาการบัญชีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศิรประภา ศรีวิโรจน์. (2553).การศึกษาสภาพปัญหาและการติดตามประเมินโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน. กรุงเทพมหานคร : คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเซีย.

สมัย เชิงหอม. (2554). การพัฒนาการจัดทำบัญชีครัวเรือนเพื่อการพึ่งพาตนเองของประชาชนหมู่บ้านแย้ ตำบลพันนา อำเภอสว่างดินแดง จังหวัดสกลนคร. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ทางยุทธศาสตร์การพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

สำนักงานเขตธนบุรี. (2561). ข้อมูลประชากรในเขตธนบุรี. ค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์2561, จาก http://www.bangkok.go.th/thonburi

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2550). ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์21 เซ็นจูรี่.

สุพรรณี ต้อนรับ. (2551). การทำบัญชีครัวเรือนของเกษตรกรลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร ในจังหวัดเชียงใหม่. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อดุล จันทปุ่ม. (2552). รายงานการวิจัยเรื่อง คุณภาพชีวิตของคนไทยเปรียบเทียบระหว่างชาวเมืองกับชนบท. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

อรุณวดี ล้อมรื่น. (2555). ศักยภาพการจัดทำบัญชีครัวเรือนเพื่อเกษตรกรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารจันทเกษมสาร. 18 (34), น. 97-105.

อุษา จูฑะสุวรรณศิริ. (2561).รายงานการวิจัยปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดทำบัญชีครัวเรือนของชุมชนบางไส้ไก่ แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

Aksoy, A. & Bilgic, A. (2019). Determinants of household alcohol and tobacco expenditures. Turkey. Journal of Family and Economic Issues. 40 (4), pp. 609-622.

Christopher, W. & Vicki, S. (1993). Financial manager’s perception of rural household Economie Well-Being:Development and testing of composite measure. Journal of Family and Economic Issues. 41 (4), pp. 193-214.

Hilton, R.W. (2007). Managerial Accounting. (4 th ed). Englewood Cliffs, New Jersey : McGraw-Hill.

Kolarik, W.J. (1999). Creating Quality Process Design for Results. (3 rd ed). Singapore : McGraw-Hill.

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement. 30, pp. 607-610.

Mock, T. J. & Wright, A. (2002). Evaluating the effectiveness of audit procedures. Auditing: A journal of Practice and Theory. 1 (3), pp. 33-43.

Rabert, L. Hurt. (2016). Auditing Information Systems Basic Concepts and Correns Issues. (4 th ed). : McGraw-Hill.

Downloads