สิทธิในที่ดิน : ความถูกต้องของกรรมสิทธิ์และการครอบครอง
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ สิทธิในที่ดิน กรรมสิทธิ์และ
การครอบครองเพื่อทำประโยชน์อย่างถูกต้อง ที่ดิน ถือเป็นอสังหาริมทรัพย์ที่มีมูลค่ามหาศาล ประชาชนต่างก็มีความต้องการที่จะครอบครองเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่ดินและนับวันก็ยิ่งจะทวีความต้องการมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่มีความเจริญหรือสาธารณูปโภคเข้าไปถึง ไม่ว่าจะเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย
การทำเกษตรกรรม อุตสาหกรรม หรือเพื่อการพาณิชย์ ก็ตาม ประชาชนทุกคนที่มีสิทธิในที่ดินจึงสมควรอย่างยิ่งที่จะได้มีการศึกษาและทำความเข้าใจกฎหมายในส่วนที่เกี่ยวข้องโดยละเอียด ในการมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินให้เป็นไปอย่างถูกต้อง ไม่เกิดปัญหาตามมาในภายหลัง
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2563, จาก http://www.dol.go.th/
การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ที่ดิน. สืบค้นเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2563, จาก http://www.sureprop.com/page/1416.
คำพิพากษาฎีกาที่ 1570/2500 ที่พิพาทซึ่งเจ้าของได้ครอบครองทำที่ดินให้เป็นที่บ้านที่สวนมาก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 4 และพระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2479 แล้ว แม้ที่ดินพิพาทจะเป็นที่ดินมือเปล่าไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ก็ต้องนำกฎหมายลักษณเบ็ดเสร็จ บทที่ 42 มาใช้บังคับคดี โดยถืออายุความสละที่ดิน 9 ปี 10 ปี หาใช่อายุความ 1 ปี ไม่. ภ.ท.บ.5 คืออะไร?. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2563, จาก http://www.sureprop.com/ภ.ท.บ.-5-คืออะไร
ปรีชา พรหมเพชร. มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการถือครองที่ดิน. วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2563, จาก http://tdc.thailis.or.th/tdr//browse.php,
Phachern Thammasarangkoon. (2553). “กรรมสิทธิ์ที่ดิน” : การแก้ปัญหาของสังคมไทยในระบอบเสรีนิยมสมัยใหม่. สืบค้นเมื่อ วันที่ 6 เมษายน 2563, จาก https://www.gotoknow.org/posts/449434