การรักษาป่าชุมชนด้วยแนวคิดผี พราหมณ์ พุทธ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะนำเสนอถึงวิธีการรักษาป่าด้วยแนวคิด ผี พราหมณ์ พุทธ ซึ่งพบว่า ป่าชุมชนเป็นแหล่งอาหาร ศูนย์การเรียนรู้ และเป็นสมบัติของชุมชน วิธีในการจัดการป่าชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพต้องเกิดจากการบริหารจัดการของคนในชุมชนด้วยการใช้กุศโลบายการสร้างป่าใช้มีความศักดิ์สิทธิ์ ด้วยแนวคิด ผี พราหมณ์ พุทธ ซึ่งเป็นความเชื่อดั้งเดิมที่มีอยู่ในชุมชนที่มีความเชื่อเกี่ยวกับผีที่สิงสถิตอยู่ในต้นไม้ใหญ่จึงเกิดพิธีกรรมการบวงสรวงถือว่าเป็นการแสดงออกซึ่งความกตัญญูต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ด้วยแนวคิดนี้จึงทำให้ป่าชุมชนยังคงอยู่คู่กับสังคมไทยตลอดไป
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
จรัส ลีกา. (2563). การวิเคราะห์คติความเชื่อในการอนุรักษ์ป่าชุมชนของคนอีสาน. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 7(2), 133-149.
ชนินทร์ ผองสวัสดิ์. (2556). คติความเชื่อเกี่ยวกับการบูชารุกขเทวดาในสังคมไทยมีอิทธิพลมาจากศาสนาฮินดูหรือพุทธศาสนากันแน่. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ, มหาวิทยาลัยศรีนรินทรวิโรฒ, 15(1), 11-18.
ราชกิจจานุเบกษา. (2562). พระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. 2562.
ประเวศ อินทองปาน. (2559). พระพุทธศาสนากับการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ผกามาศ มูลวันดี. (2559). การใช้ประโยชน์ป่าชุมชนโกรกประดู่ตำบลโคกกลาง อำเภอลำ ปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์, 8(1), 15-26.
มหาวิทยาลัยรามคำแหง. (2547). ความรู้ทั่วไปทางวรรณคดีไทย (ศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 1). (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
เสถียร โกเศศ. (2549). ผีสางเทวดา. กรุงเทพมหานคร: เอเธนท์บุ๊ค.
ศักดิสิทธิ์ พันธุ์สัตย์์. (2556). ตีตั๋วไปสวรรค์. กรุงเทพมหานคร: เลี่ยงเชียงเพียรเพื่อพุทศาสน์.