ทฤษฎีความรู้ในปรัชญาจารวาก
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอถึงทฤษฎีความรู้ในปรัชญาจารวาก พบว่า ความรู้ที่ถูกต้องคือความรู้ที่ได้รับโดยตรงจากประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย เท่านั้น ปฏิเสธ
ความรู้ที่ได้รับจากการอนุมาน เพราะถือว่าเป็นเพียงการเดาอย่างมีระเบียบ และไม่ให้ความรู้ที่แน่นอน และความรู้ที่ได้รับจากการบอกเล่าของผู้อื่น รวมถึงคัมภีร์หรือตำราต่าง ๆ เพราะสิ่งนี้จะให้ความรู้
ที่ไม่แน่นอน และทำให้เกิดความสงสัย เพราะข้อความที่ได้ฟัง และได้เห็นนั้นมันไม่ได้เกิดจากประสบการณ์ของเราโดยตรง
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
จิรเดช เกตุประยูร. (2562). ศึกษาเปรียบเทียบเกณฑ์ตัดสินทางจริยธรรมตามแนวทางพุทธปรัชญาเถรวาทกับปรัชญาจารวาก. (รายงานการวิจัย). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.
ฐานิสรา ประธานราษฎร์นิกร. (2552). อัพยากตปัญหา ปัญหาที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงพยากรณ์. กรุงเทพฯ: ศยาม.
พระมหาต่วน สิริธมฺโม. (2532). “ปรัชญาจารวาก”, ในมหาจุฬาฯ วิชาการ : ปรัชญาบุรพทิศ. ทรงวิทย์ แก้วศรี, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้ง
กรุ๊พ จำกัด.
พระมหาประยูร ธมฺมจิตฺโต. (2532). “พุทธปรัชญาเถรวาท”, ในมหาจุฬาฯ วิชาการ : ปรัชญาบุรพทิศ. ทรงวิทย์ แก้วศรี, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ จำกัด.
พระครูปลัดสุวัฒนพุทธคุณ (จนฺทาโภ). (2556). ศึกษาวิเคราะห์ปรัชญาจารวาก. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ประยงค์ แสนบุราณ. (2547). ปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ฟื้น ดอกบัว. (2545). ปวงปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพฯ: ศยาม.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย. ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สนั่น ไชยานุกุล. (2519). ปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพฯ: การศาสนา.
สุวัฒน์ จันทรจำนง. (2540). ความเชื่อของมนุษย์เกี่ยวกับปรัชญาและศาสนา. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.
สุนทร ณ รังษี. (2545). ปรัชญาอินเดียประวัติและลัทธิ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อดิศักดิ์ ทองบุญ. (2546). ปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
เอ็ม หิริยันนะ. วิจิตร เกิดวิสิษฐ์ (ผู้แปล). (2520). ปรัชญาอินเดียสังเขป. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
S. Radhakrishnan. (1957). A Source Book in Indian Philosophy. India : Princeton University Press.