ชื่อปีนักษัตรที่ปรากฏในตุงล้านนา

Main Article Content

พระปลัดพงศ์ศิริ พุทฺธิวํโส
พิงพร ศรีแก้ว
ประพินท์ สังขา

บทคัดย่อ

ตุง ทำขึ้นมาเพื่อเป็นพุทธบูชา อีกทั้งใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ มาตั้งแต่โบราณพิธีกรรมต่าง ๆ มากมายทางพระพุทธศาสนามีอิทธิพลต่อความเชื่อในการใช้ตุง ตั้งแต่แรกเริ่มจนกระทั่งการนำไปใช้ ตลอดจนถึงลักษณะของตุง วัฒนธรรม ประเพณี ศิลปะในกระบวนการทำตุงและพิธีกรรม การใช้ตุงในพิธีกรรมต่าง ๆ ของชาวล้านนา ทำให้พิธีกรรมที่มีความศักดิ์สิทธิ์ที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาอย่างต่อเนื่อง ในปัจจุบันศิลปะที่ปรากฏบนลายของตุงอาจมีการเปลี่ยนแปลงไปบ้าง แต่ก็รักษาเอกลักษณ์ไว้ และคงศิลปะเดิมให้มากที่สุด


          ชาวล้านนาเชื่อว่า การทำตุงถวายเป็นพุทธบูชา เป็นสิ่งปรารถนาสูงสุด เป็นบุญกุศลยิ่งใหญ่เพื่อให้ตนเองได้ขึ้นสวรรค์ เพราะตุงเป็นบันไดขึ้นไปสู่พระเกษแก้วจุฬามณีเจดีย์สถานบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ จึงทำตุงเป็นขั้น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งได้ถวายพระธาตุประจำปีเกิดของตนเอง ให้เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของตนเองและเป็นแบบอย่างของคนล้านนาตลอดมา โดยเฉพาะตุง ตั๋วเปิ้ง (ตุงปีนักษัตร) ที่รวมเอาปีเกิดของนักษัตรมาไว้ในตุงเพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่น สร้างบุญกุศลให้กับตนเองและครอบครัวในการดำรงชีวิตให้ดีขึ้น และยังเป็นศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้กับชุมชนสืบไป

Article Details

How to Cite
พุทฺธิวํโส พ. ., ศรีแก้ว พ. ., & สังขา ป. . (2020). ชื่อปีนักษัตรที่ปรากฏในตุงล้านนา. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 7(1), 78–94. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jg-mcukk/article/view/245154
บท
บทความวิชาการ

References

ทวี เขื่อนแก้ว. (2541). ประเพณีเดิม. (พิมพ์ครั้งที่ 17). กรุงเทพมหานคร : เลี่ยงเชียง.
ทองทวี ยศพิมสาร. (2551). ฮีตคนเมือง ฉบับปั๊บสา ขุมผญาของดีล้านนา. (พิมพ์ครั้งที่ 7). ลำพูน : ณัฐพลการพิมพ์.
ธวัช ปุณโณทก. (2553). วิวัฒนาการภาษาไทยและอักษรไทย. กรุงเทพมหานคร : วี. พริ้นท์.
สุภาพร ท้าวสูงเนิน. พระธาตุประจำราศี พระธาตุประจำปีเกิด. (พิมพ์ครั้งที่ 5). นนทบุรี : สำนักพิมพ์ วี.ที.เอส.,ม.ป.ป.
เบญจพล สิทธิประณีต. (2549). ตุง. เชียงใหม่ : นพบุรีการพิมพ์.
พระราชปริยัติ. (2559). ตุงล้านนา : คติความเชื่อทางพระพุทธศาสนา. เชียงใหม่ : โรงพิมพ์ แม็กซ์พริ้นติ้ง.
มณี พะยอมยงค์. (2538). เครื่องสักการะในล้านนาไทย. เชียงใหม่ : ส.ทรัพย์การพิมพ์.
มาลา คำจันทร์. (2546). เจ้าจันทร์ผมหอม นิราศพระธาตุอินทร์แขวน. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพมหานคร : เคล็ดไทย.
สุริยา รัตนกุล. (2555). พิธีกรรมในศาสนา เล่ม 1. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นครปฐม : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยมหิดล.