การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 โรงเรียนจักราชวิทยา จังหวัดนครราชสีมา

Main Article Content

สุรพงษ์ คงสัตย์

Abstract


               การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาทักษะด้านการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ 4 ด้าน คือ ด้านการอ่านออกเสียงพยัญชนะต้น ด้านการอ่านออกเสียงพยัญชนะควบกล้ำ ด้านการอ่านออกเสียงสระ และ ด้านการอ่านออกเสียงพยัญชนะท้าย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 โรงเรียนจักราชวิทยา จังหวัดนครราชสีมา และ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในด้านทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษก่อนและหลังการใช้กิจกรรมพัฒนาทักษะ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5  โรงเรียนจักราชวิทยา โดยการสุ่มตัวอย่างห้องเรียน 1 ห้อง ด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง ได้นักเรียนจำนวน  41 คน ทำการทดลองโดยให้นักเรียนเรียนด้วยกิจกรรม Letter Sound ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) ชุด Letter Sound
2) แบบทดสอบวัดความสามารถทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษก่อนและหลังการทดสอบ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ T-test จับคู่เปรียบเทียบความสามารถทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ 4 ด้าน ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังการเรียนโดยใช้สื่อที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการหาค่าระดับความสามารถของทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ


           ผลการวิจัย พบว่า 


           ค่าเฉลี่ยของคะแนนรวมด้านทักษะการอ่านออกเสียงพยัญชนะต้นของนักเรียนหลังการใช้กิจกรรม Letter Sound ผ่านครูสู่เด็ก จาก 2.41 เป็น 3.41 เพิ่มขึ้นเท่ากับ 1.0    ด้านการอ่านออกเสียงพยัญชนะควบกล้ำ จาก 1.85 เป็น 2.73 เพิ่มขึ้นเท่ากับ 0.88 ด้านการอ่านออกเสียงสระ จาก 2.56 เป็น 3.83 เพิ่มขึ้นเท่ากับ 1.27 ด้านการอ่านออกเสียงพยัญชนะท้าย จาก 2.20 เป็น 3.46 เพิ่มขึ้นเท่ากับ 1.26 ค่าร้อยละของคะแนนรวมด้านทักษะการอ่านออกเสียงพยัญชนะต้นของนักเรียนหลังการใช้กิจกรรม Letter Sound ผ่านครูสู่เด็ก จาก 48.29 เป็น 68.29 เพิ่มขึ้นเท่ากับ 20.00 ด้านการอ่านออกเสียงพยัญชนะควบกล้ำ จาก 37.07 เป็น 54.63 เพิ่มขึ้นเท่ากับ 17.56 ด้านการอ่านออกเสียงสระ จาก 51.22 เป็น 76.59 เพิ่มขึ้นเท่ากับ 25.37 ด้านการอ่านออกเสียงพยัญชนะท้าย จาก 44.39 เป็น 69.27 เพิ่มขึ้นเท่ากับ 24.88 และ ค่าเฉลี่ยของคะแนนรวมด้านทักษะการอ่านทั้ง 4 ด้าน ของนักเรียนหลังการใช้กิจกรรม Letter Sound ผ่านครูสู่เด็ก จาก 9.02 เป็น 13.43 เพิ่มขึ้นเท่ากับ 4.41 ค่าร้อยละของคะแนนรวมด้านทักษะการอ่านทั้ง 4 ด้าน ของนักเรียนหลังการใช้กิจกรรม Letter Sound ผ่านครูสู่เด็ก จาก 180.97 เป็น 268.78 เพิ่มขึ้นเป็น 87.81


          ทักษะด้านการอ่านออกเสียงภาอังกฤษทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ทักษะด้านการอ่านออกเสียงพยัญชนะต้น ทักษะด้านการอ่านออกเสียงพยัญชนะควบกล้ำ ทักษะด้านการออกเสียงสระ และทักษะด้านการอ่านออกเสียงพยัญชนะท้าย สูงขึ้นหลังได้รับการสอนโดยการใช้กิจกรรม Letter Sound ผ่านครูสู่เด็ก และ ผลการเปรียบเทียบความสามารถในทักษะด้านการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านการอ่านออกเสียงพยัญชนะต้น ด้านการอ่านออกเสียงพยัญชนะควบกล้ำ ด้านการอ่านออกเสียงสระ และ ด้านการอ่านออกเสียงพยัญชนะท้าย ของกลุ่มตัวอย่างหลังเรียนโดยใช้กิจกรรม Letter Sound ผ่านครูสู่เด็ก
เพิ่มสูงกว่าความสามารถในทักษะด้านการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษทั้ง 4 ด้าน ก่อนการใช้กิจกรรม Letter Sound ผ่านครูสู่เด็กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05


         This research is an action research that the purpose of this research is to improve the English pronunciation skills in four aspects as the reading of the consonant diphthong. The pronunciation of the vowels and the pronunciation of the consonants of students in Grade 1/5 Chakkaratvittaya  school, Nakhon Ratchasima and to compare their ability to read and pronounce English before and after using skill development activities. The samples were Grade 1/5 students in Academic Year 2011. A random sample of the classrooms was used. There were 41 students. Experimental study was conducted by students using Letter Sound activity. The instruments used in this study were 1) Letter Sound, 2) English proficiency test, before and after the test. Data analysis using T-test, matching to comparison of  ability to be reading skills into 4 phonetics. The samples were used before and after the study using the researcher's media. The statistics used in the data analysis were percentage, standard deviation and standard deviation.


         The research found that


         The mean scores of the students' early reading skills scores after using Letter Sound activity through teacher-to-child ratios from 2.41 to 3.41 increased to 1.0. The diphthong reading from 1.85 to 2.73 increased to 0.88. Vowel from 2.56 to 3.83 increased by 1.27. The final reading from consonant to consonant was 2.20 to 3.46, an increase of 1.26 percent. Percentage of total literacy scores for students after Letter Sound activity through teacher-to-child ratio increased from 48.29 to 68.29, increased by 20.00. The diphthongs from 37.07 to 54.63 increased by 17.56. The pronunciation of vowels from 51.22 to 76.59 increased by 25.37. From the 44.39 to 69.27, the increase was 24.88. The average of all four-point reading comprehension scores of students after using Letter Sound activity through teacher-to-child ratio was 9.4 to 13.43, an increase of 4.41 percentage points. Letter Sound activity through teachers to children from 180.97 to 268.78 increased to 87.81.


        Concluding that English reading skills in all four areas, including the ability to read the first syllable. Reading skills, consonants, diphthongs Pronunciation skills and the pronunciation of the consonant sound. Higher after being taught by using Letter Sound activities through teachers to children. The comparison of English reading comprehension skills in all four aspects is the reading of initial consonant sounds. The reading of the consonant diphthong. The pronunciation of the vowels and the pronunciation of the consonants The sample of students after learning through Letter Sound activities through teachers to children. There was a significant difference in the level of English reading skills in all four aspects before the use of Letter Sound through teacher-to-child activities at the 0.05 level.


Article Details

How to Cite
คงสัตย์ ส. . (2018). การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 โรงเรียนจักราชวิทยา จังหวัดนครราชสีมา. Journal of Graduate MCU KhonKaen Campus, 5(2), 366–386. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jg-mcukk/article/view/243815
Section
Research Article

References

Academic Affairs Department of Chakkaratvittaya School. (2011). Student Handbook , Teacher's Handbook and Annual Report 2011. Nakhon Ratchasima : Chakkarat Copy. Aksaranukroh, S. (1997). The use of strategies for communication with English teaching, in Sumit Angwattanakul, Concepts and Techniques for Teaching English in Secondary Schools. Bangkok : Chulalongkorn University Press. Angvattanakul, S. (1994). Language Teaching Methods. Bangkok : Chulalongkorn University Press. Coghlan D. & Brannick T. (2001). Doing Action Research in Your Own Organization. London : Sage. Department of Academic. (2000). Learning to develop thinking processes. Bangkok : Religion Publishing House. Department of Religious Affairs. Department of Academic. (2011). Affairs Foreign Language Learning Group Follow the course Basic education. Bangkok : Printing Workshops, Transfers and Packages. Department of Academic Affairs, Ministry of Education. (2002). Basic Education Curriculum 2544 Learning Management Guide for Foreign Language Learners. Bangkok : Ministry of Education. Johnson A.P. (2008). A Short Guide to Action Research. (3rd ed). Boston : Pearson Education. Kemmis S. & Mctaggart R. (1988). The Action Research. (3rd ed.). Victoria Deakin University. Kourhavech, B. (1987). Education innovation. (3rd ed.). Bangkok : Charoenwit Printing. Kunarak, K. (1996). Design of teaching. Nakhon Pathom : Silapakorn University Press. Phierjud, T. (2004). The development of computer-assisted language learning lessons to teach reading techniques in the English i course for first year students of Engineering and Industrial Faculty, Sipakorn University, Sanamchan campus, Nakhon Pathom province. Master's thesis, Graduate School : Sipakorn University. Torat, S. (2011). Elements and problems related to coaching effectiveness of English major students. Journal of Education Silpakorn University, 7-8(1-2), 163-179.