การเจรจาไกล่เกลี่ยระงับความขัดแย้งในทัศนะพุทธปรัชญา

Main Article Content

ณัชชา เพียงพอ
สุวิน ทองปั้น

Abstract

               บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจรจาไกล่เกลี่ยระงับความขัดแย้งในทัศนะพุทธปรัชญา พบว่า ความขัดแย้งเป็นธรรมชาติของมนุษย์ ซึ่งยากที่จะหลีกเลี่ยงได้ การเจรจาไกล่เกลี่ยเป็นรูปแบบสำหรับจัดการปัญหาความขัดแย้ง และการสร้างสัมพันธภาพที่ยั่งยืน  ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดในการจัดการความขัดแย้งทางพุทธปรัชญา กลไกที่สำคัญของการเจรจาไกล่ที่สำคัญในการจัดการความขัดแย้ง คือ “กัลยาณมิตร” ซึ่งเป็นบุคคลที่สามที่สามารถทำให้เกิดการบรรลุข้อตกลง และขจัดความขัดแย้งลงได้ โดยความสมัครใจของคู่กรณีเองทั้งสองฝ่าย ซึ่งก็หมายถึงว่าคู่กรณีนั้นต้องเกิดความเห็นชอบยอมรับ คิดพิจารณาได้ด้วยตนเอง นั่นก็คือ คู่กรณีทั้งสองฝ่ายเกิด “ความเห็นที่ถูกต้อง” ซึ่งเป็นการครบกระบวนการของปัจจัยแห่งการสร้างสันติสุข และสลายความขัดแย้ง ที่จะนำไปสู่เป้าหมายสูงสุดของการเจรจาไกล่เกลี่ย


           This article aims to study the negotiation of conflict resolution in Buddhist philosophy. It is difficult to avoid. Mediation is a form of conflict resolution. And building lasting relationships. This is the ultimate goal in Buddhist conflict management. The key mechanism of negotiating a major deal in conflict management is the "Kaliyamitr", a third party that can achieve the agreement. And eliminate conflict. The volunteers of the parties themselves. Which means that the party must


agree to accept. Considering that the two parties are parties. The "right opinion", which is a complete process of the factors of peace. And break the conflict. That would lead to the ultimate goal of mediation.

Article Details

How to Cite
เพียงพอ ณ., & ทองปั้น ส. . (2018). การเจรจาไกล่เกลี่ยระงับความขัดแย้งในทัศนะพุทธปรัชญา. Journal of Graduate MCU KhonKaen Campus, 5(2), 30–43. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jg-mcukk/article/view/243773
Section
Academic Article

References

Galtung, J. (1975). Peace : Research, Education, Action : Essays in Peace Research.1. Copenhagen : Christian Ejlers. Mahachulalongkornrajavidyalaya University. (1996). Thai Tipitaka Version of Mahachulalongkornrajavidyalaya. Bangkok : Mahachulalong kornrajavidyalaya University Press. Phomtha, S. (2005). Buddhist Philosophy, Human Society and Ethics. (2nd ed). Bangkok : Publishing Siam. Sataanan, C. (1996). Santi Theory Cultural Theory. Bangkok : Ruankaew Printing. W. Moore, C. et al. (1999). Mediation Process. Khon Kaen : Institute for Peace Studies University of the Thai Chamber of Commerce. Wattanasup, W. (2004). Theory and Tools in Problem Solving. (2nd ed.) Nonthaburi : King Prajadhipok's Institute.