การพัฒนาจิตสาธารณะเชิงพุทธบูรณาการ
Main Article Content
Abstract
จิตสาธารณะเชิงพุทธบูรณาการเป็นการเห็นแก่ผลประโยชน์ของส่วนรวม โดยงดเว้นกระทำให้ทรัพย์สินส่วนรวมเสียหาย มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาทรัพย์สินส่วนรวม การเคารพสิทธิของบุคคลอื่นในการใช้ทรัพย์สินร่วมกันโดยมุ่งเน้นการให้ การไม่เบียดเบียน และการมุ่งประโยชน์ร่วมกันที่ผสมผสานหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาในการปฏิบัติ ได้แก่ หลักสังคหวัตถุ 4 พรหมวิหาร 4 และหลักการสังเคราะห์ตามแนวพระพุทธศาสนา มีการพัฒนาเชิงระบบ 6 ระยะ ได้แก่ การเตรียมการ การประเมินก่อนดำเนินการ การพัฒนา การฝึกปฏิบัติ การประเมินผลหลังดำเนินการ และการวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน สามารถจัดระเบียบสังคมได้เป็นอย่างดี เพราะเป็นการสร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบ และเป็นแบบอย่างหน้าที่ให้ถูกต้องตามสถานะของบุคล เมื่อต่างคน ต่างปฏิบัติหน้าที่ให้ถูกต้องตามบทบาท ย่อมเอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมประเทศชาติ และส่งเสริมพัฒนาการทางจิตของปัจเจกบุคลให้ดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข
Integrated Public Mind represents the awareness of public benefit by avoiding damaging the public property, taking part in looking after the public property, respecting other people’s right on making use of property together focusing on the giving concept and avoiding taking advantage of other people, as well as targeting the joint benefit. To take an action, these awareness are integrated by Buddhist Dharma: the four principles of kindly treatment (Sangahavatthu), the four principles virtuous existence (Brahmavihara), the threefold training (Trisikkha), and the principle of synthesis based on Buddhist concept. There are six phases of systematic development including preparation, pre-assessment, treatment, practice, post-evaluation, and feedback.
Article Details
References
ว.วชิรเมธี. (2554). เธอคือโพธิสัตว์. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง. สัมฤทธิ์ กางเพ็ง. (2552). การพัฒนารูปแบบการเพิ่มประสิทธิภาพการทําวิจัยในชั้นเรียนของ ครูในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 1 : กรณีศึกษา โรงเรียนบ้านหนองกุงวิทยาคาร. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.