ข้อได้เปรียบของโมเดลเชิงเส้นระดับลดหลั่นของ Raudenbush & Bryk (2002) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2
Main Article Content
บทคัดย่อ
โมเดลเชิงเส้นระดับลดหลั่นของ Raudenbush & Bryk (2002) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 มีข้อ
ได้เปรียบมากกว่าฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 ของ Bryk & Raudenbush (1992) ดังนี้ 1) โครงสร้างข้อมูล
ระดับลดหลั่น HLM ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 มีความคล้ายคลึงกับข้อมูลที่มีอยู่ในสังคมหรือในธรรมชาติ
2) มีการปรับปรุงการประมาณค่าของอิทธิพลระดับบุคคล 3) มีโมเดลอิทธิพลข้ามระดับ 4) สามารถ
แยกส่วนประกอบความแปรปรวน–ความแปรปรวนร่วมได้ 5) มีการขยายขอบเขตของตัวแปรตามมาก
ขึ้น 6) สามารถแยกส่วนประกอบความแปรปรวน – ความแปรปรวนร่วมได้ 7) สามารถวิเคราะห์ข้อมูล
ที่มีโครงสร้างแบบข้ามกลุ่มหรือข้ามหน่วยในระดับเดียวกันได้ 8) สามารถวิเคราะห์โมเดลตัวแปรแฝงได้
และสุดท้าย 9) การอ้างอิงแบบเบส์เซียน
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนใดส่วนหนึ่งไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ก่อนเท่านั้น