การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยชุมชนสู่วิถีที่ยั่งยืนบ้านไผ่หูช้าง อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
คำสำคัญ:
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม, วิถีที่ยั่งยืน, บ้านไผ่หูช้างบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้เป็นการนำเสนอแนวคิดการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยชุมชนสู่วิถีที่ยั่งยืน บ้านไผ่หูช้าง อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจะต้องสามารถตอบสนองความต้องการหรือสร้างความพึงพอใจให้กับนักท่องเที่ยวและผู้คนในท้องถิ่น โดยเป็นการท่องเที่ยวที่สนับสนุนให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการวางแผน ตัดสินใจและพัฒนาชุมชนของตนเอง เพื่อเพิ่มความเป็นอยู่ที่ดีของคนในชุมชนทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนสู่วิถีที่ยั่งยืนนั้น จะต้องให้ความสำคัญเรื่องการบริหารจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อมให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในมิติที่หลากหลาย ได้แก่ มิติธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น รักษาระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นต้น มิติทางสังคมและวัฒนธรรม เช่น การเคารพวัฒนธรรม สร้างความเข้าใจอันดีระหว่างพหุวัฒนธรรม เป็นต้น มิติทางเศรษฐกิจ เช่น การกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะส่งผลให้การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนดำเนินไปสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนต่อไป
Downloads
References
Dowling, R. K. (1995). Ecotourism development: regional planning and strategies. A paper presented at the International Conference on Ecotourism: Concept, Design, and Strategy. February 6-8, 1995. Bangkok, Thailand.
George, E. W., Mair, H., & Reid, D. G. (2009). Rural Tourism Development: Localism and Cultural Change. Channel View Publications.
Sammy, D. & S. Lakhan Baptiste. 2008. Community Tourism Handbook: A Resource Guide for Community Groups Participating in Sea Turtle Ecotourism in the Commonwealth of Dominica.
WTO. (World Tourism Organization). Tourism, a factor of sustainable development. Retrieved on 10 November 2016 from http://ethics.unwto.org/en/content/global-code-ethics-tourism-article-3
ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์. (2546). มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชูเกียรติ นพเกตุ. (2542). การท่องเที่ยวโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน. จุดเริ่มต้นของการพัฒนาอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
ธนดล สุวรรณนิกขะ.(2556). แนวทางการพัฒนาแหล่งทองเที่ยว : กรณีศึกษาวัดไรขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม.นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร
นิรชราภา ทองธรรมชาติ. (2560). การพัฒนาทองเที่ยวอย่างยั่งยืนของบ้านไผ่หูชาง. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา สถาบันวิจัยและพัฒนา.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน.กรุงเทพมหานคร: เพรสแอนด์ ดีไซน์.
พจนา บุญคุ้ม. (2557). การพัฒนารูปแบบการสื่อสารทางการตลาดในแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกลุ่มภาคกลางตอนล่าง. ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พยอม ธรรมบุตร. (2549). หลักการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์.กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ลัดดา พูนสวัสดิ์มงคล และทิสวรรณ ชูปัญญา. (2566). แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการและศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่สวนดุสิตและพื้นที่ต่อเนื่อง. วารสารตำหนัก มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 1(1); 72-89
สำนักงานจังหวัดนครปฐม. (2566). แผนพัฒนาจังหวัดนครปฐม 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570). เข้าถึงได้จาก http://www.nakhonpathom.go.th สืบคนเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2567
โสภิตา ถาวร และสมทรง บุรุษพัฒน์. (2561). การใช้เกณฑ์ทางภาษาศาสตร์จัดกลุ่มย่อยภาษาไทดำและข้อสนับสนุนการอพยพย้ายถิ่นฐาน. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 37(2), 61-86.
อติภัค แสงสนิท. (2561). ภาคี อพท. จ้างแรงงานทองถิ่นสูงลิ่ว. กรุงเทพธุรกิจ. เข้าถึงได้จาก http://www.bangkokbiznews.com/pr/detail/36516 สืบคนเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2567
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความลิขสิทธิ์