ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตำบล กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบลนาเสียว อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ
คำสำคัญ:
การเลือกตั้ง, องค์การบริหารส่วนตำบลนาเสียว, การตัดสินใจบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกนายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาเสียว อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ 2. เพื่อศึกษาระดับการตัดสินใจเลือกนายกองค์การบริหารส่วนตำบลของประชาชนต่อปัจจัยที่มีผลในการตัดสินใจเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั้งระดับท้องถิ่นของประชาชนตำบลนาเสียว อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน ประชากรและกลุ่มตัวอย่างคือประชาชนในตำบลนาเสียว อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ จำนวน 380 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ใช้เครื่องมือในการวิจัยคือ แบบสอบถาม และใช้การสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า T-Test และค่า F-Test โดยกำหนดในทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัยพบว่า
1.ปจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งนายกองคการบริหารสวนตําบลนาเสียว อําเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ โดยส่วนใหญประชาชนจะใหความสําคัญกับนโยบายมากที่สุด อีกปจจัยที่ประชาชนในชุมชนใหความสําคัญกับการตัดสินใจเลือกตั้งคือ ผูสมัครตองเปนคนใกลชิด เปนคนที่รูจัก ซึ่งปจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้ง
2.ระดับการตัดสินใจเลือกนายกองคการบริหารสวนตําบลของประชาชนตอปจจัยที่มีผลในการตัดสินใจเลือกตั้งนายกองคการบริหารสวนตําบล ระดับการตัดสินใจของประชาชนในชุมชนอยูในระดับมาก การมีสวนรวมของประชาชนในการเลือกตั้งระดับทองถิ่น การมีสวนรวมของประชาชนในการเลือกตั้งทองถิ่นอยูในระดับปานกลาง
Downloads
References
กมล เข็มนาจิตร์.(2557).ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองส่วนท้องถิ่น
ขององค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดเพชรบูรณ์.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี,ปีที่ 8 ฉบับที่ 17,
เดือนกันยายน – ธันวาคม 2557.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น.2567. (ออนไลน์).แหล่งที่มา : www.dla.go.th.
กิตติพัฒน คงมะกล่ํา.(2565).การตัดสินใจเลือกตั้งนายกองคการบริหารสวนจังหวัดนครสวรรค ของผูมีสิทธิ
เลือกตั้งในจังหวัดนครสวรรค.มนุษยสังคมสาร (มสส.), ปที่ 19 ฉบับที่ 3, กันยายน – ธันวาคม 2564.
ณัฐพัชร์ เอื่อมไวยวุฒิ.(2558).ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี :
ศึกษาในห้วงเวลา ปี พ.ศ. 2559.รัฐศาสตรมหาบัณฑิต,
มหาวิทยาลัยเกริก.
ฐิติมา อิ่มรัตน์.2558).ปัจจัยทีมีผลต่อการตัดสินใจเลือกนายกองค์การบริหารส่วนตําบลโขมง อําเภอท่าใหม่
จังหวัดจันทบุรี.รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น, มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี.
ธงชัย เจริญรัชเดช.(2551).การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในการเลือกตั้งท้องถิ่น : ศึกษากรณี
ตำบลบ่อวิน อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. เอกสารวิชาการส่วนบุคคล. (หลักสูตรการบริหารงาน
ภาครัฐและกฎหมายมหาชน) รุ่น 7 ,สถาบันพระปกเกล้า.
ธมลวรรณ วรรณปลูก.(2561).ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกตั้งนายกเทศมนตรี: ศึกษากรณี
เทศบาลเมืองเขลางคนคร อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง. รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาสื่อสารการเมือง วิทยาลัยสื่อสารการเมือง, มหาวิทยาลัยเกริก.
ธนกร ภัทรบุญสิริ.(2561).ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชกิสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดชัยภมิ : ศึกษาในห้วงเวลา ปี พ.ศ. 2562.รัฐศาสตรมหาบัณฑิต,
สาขาวิชาสื่อสารการเมือง วิทยาลัยสื่อสารการเมือง.มหาวิทยาลัยเกริก.
นงค์รักษ์ ต้นเคน.(2558).ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของประชาชน ในการลงคะแนนเลือกนายกองค์การ
บริหารส่วนตำบลคำเตย อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม.
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
บุศรา โพธิสุข.(2559).การมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชน : ศึกษาเฉพาะกรณี
ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ พิฆเนศวร์สาร, ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 :
มกราคม - มิถุนายน 2559.
เบ็ญจวรรณ จามน้อยพรหม.(2564).ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนใน
เขตอำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.),
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ปิยะรัตน์ สนแจ้ง.(2561).ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร :
ศึกษากรณี ประชาชน กรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2562.รัฐศาสตรมหาบัณฑิต,
สาขาวิชาสื่อสารการเมือง. วิทยาลัยสื่อสารการเมือง. มหาวิทยาลัยเกริก.
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ.2562.(ออนไลน์).แหล่งที่มา :
เพิ่มศักดิ์ วรรณยิ่ง.(2559).การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตอำเภอบางคนที
จังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารสหวิทยาการวิจัย,ปีที่ 5. ฉบับที่ 1 :
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุลีมาศ แปลงศรี.(2565).ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาและ
ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประชาชนในจังหวัดนครพนม.
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
องค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ.2567.(ออนไลน์).แหล่งที่มา : www.chpao.org/.
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน.ประวัติความเป็นมา อบต.2567. (ออนไลน์).แหล่งที่มา :
เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์.การเลือกตั้งท้องถิ่น.2016.(ออนไลน์).แหล่งที่มา : http://wiki.kpi.ac.th.
Taro Yamane.(1976).Statistics: An introductory analysis (2nd ed.). New York : Harper and Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความลิขสิทธิ์