การบริหารจัดการวัดที่มีโบราณสถานเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
คำสำคัญ:
การบริหาร, พุทธอาราม, การท่องเที่ยวเชิงนิเวศบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้เพื่อทำให้เกิดความเข้าใจในเรื่องการบริหารการจัดการของวัดโดยมีรูปแบบการบริหารองค์กรและรูปแบบของการบริหารแบบอนุรักษ์โดยเจาะจงที่เจ้าอาวาสเป็นผู้ขับเคลื่อนในการบริหารจัดการวัดที่มีโบราณสถานเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เป็นแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมชุมชน
ดังนั้น การบริหารจัดการวัดที่มีโบราณสถานจึงต้องการการมีส่วนร่วมและมีการอนุรักษ์เชิงวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของสถานที่นั้น ๆ จึงมีความสำคัญเป็นอย่างมากในการที่จะเข้าใจบริบทของถิ่นนั้น และการร่วมมือของเจ้าของท้องถิ่นอันมีประชาชนและองค์กรท้องถิ่นนั้นโดยมีเจ้าอาวาสเป็นผู้นำและสร้างความเข้าใจให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในการบริหารจัดการเพื่อความเจริญรุ่งเรือง
Downloads
References
กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ, คู่มือการบริหารศึกษาคณะสงฆ์, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
กรมศาสนา, ๒๕๓๘.
กรมศิลปากร, ระเบียบกรมศิลปากรว่าด้วยการอนุรักษ์โบราณสถาน พ.ศ. ๒๕๒๘,กรุงเทพมหานคร :
กรมศิลปากร, ๒๕๒๘.
กรมการศาสนา, คู่มือการบริหารและการจัดการวัดฉบับย่อ, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา
ไขแสง ศุขะวัฒนะ, การอนุรักษ์โบราณสถานและงานสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าทางวัฒนธรรม,
กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๘.
พระธรรมปิฏก (ป.อ. ปยุตโต), การศึกษาเครื่องมือพัฒนาที่ยังต้องพัฒนา, กรุงเทพมหานคร :
สหธรรมิก, ๒๕๔๕.
พระเทพปริยัติสุธี (วรวิทย์ คงฺคปญฺโญ) การคณะสงฆ์และการศาสนา, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๕.
พระครูวิสุทธานันทคุณ (สุรศักดิ์ วิสุทฺธาจาโร) การบริหารจัดการวัดเพื่อความมั่นคงแห่ง
พระพุทธศาสนา. หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๕๗.
พระมหาบุญพิเชษฐ์ จันทร์เมืองเส. การจัดการการท่องเที่ยวในพระอารามหลวงชั้นเอกในเกาะ
รัตนโกสินทร์. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของ
การศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชา การวางแผนและการ
จัดการการท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม. ๒๕๕๓.
พระราชญาณวิสิฐ (เสริมชัย ชยมงฺคโล), การบริหารวัด, นครปฐม : เพชรเกษมการพิมพ์, ๒๕๔๘.
สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ, แกนหลักแนวคิดการปฏิรูป
กระบวนการเรียนรู้ และเกณฑ์การประเมินโรงเรียนปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้,
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๔๔.
พระมหาอนุศักดิ์ จันทราลักษณ์,”ปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาการบริหารจัดการวัดของเจ้าอาวาสใน
จังหวัดมหาสารคาม”, รายงานการค้นคว้าอิสระ ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขา
การศึกษานอกระบบ, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ๒๕๔๖.
พระมหาสุริยา หอมวัน, “บุคลิกภาพของเจ้าอาวาสที่พึ่งประสงค์ : กรณีศึกษาพระภิกษุสามเณรวัด
สระกำแพงใหญ่ อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ”, สารนิพนธ์ศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต,(สาขาวิชาการบริหารองค์การ),(บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเกริก,
๒๕๔๔.
สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ, แกนหลักแนวคิดการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้
และเกณฑ์การประเมินโรงเรียนปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
การศาสนา, ๒๕๔๔.
สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม, แนวทางการอนุรักษ์โบราณสถานสำหรับ
พระสงฆ์, (กรุงเทพมห่นคร : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับบลิซซิ่ง จำกัด มหาชน, ๒๕๕๐.
สมชาติ จึงสิริอารักษ์, แนวคิดในการอนุรักษ์โบราณสถานในศตวรรษที่ ๑๙ ของอังกฤษ,
กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๘.
ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕, พิมพ์ครั้งที่ ๕,
กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๓๘.
วีระ โรจน์พจรัตน์, การวางแผนอนุรักษ์โบราณสถาน, รายงานการสัมมนาเรื่อง การอนุรักษ์
โบราณสถานสุโขทัย ณ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย, ๑๗-๒๑ มกราคม ๒๕๒๘.
อนุวิทย์ เจริญศุภกุล, “รายงานการสำรวจโบราณสถานเมืองสุโขทัยเก่า”, เมืองโบราณ, เล่มที่ ๔ ปีที่
๑, ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๓๐.
บุญช่วย จันทร์เฮ้า, “พฤติกรรมการบริหารของเจ้าอาวาสที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานวัดในเขตการ
ปกครองคณะสงฆ์จังหวัดกรุงเทพมหานคร”, วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
(สาขาการบริหารการศึกษา), (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๗.
ประเวศ วะสี, พระสงฆ์กับการรู้เท่าทันสังคม : หลักการบริหารจัดการวัดในยุคโลกาภิวัฒน์,
กรุงเทพมหานคร : สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ, ๒๕๔๕.
ธีรวุฒิ ทองโอษฐ์, “การศึกษาการปฏิบัติศาสนกิจของเจ้าอาวาสในจังหวัดร้อยเอ็ด”, วิทยานิพนธ์
การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรี
นครินทรวิโรฒ, ๒๕๔๖.
Appledyard Donala, The Conservation of European Cities, (Cambride:The M.I.T.Press,
Fayol, Henri, General and industrial management, (London : Pittman & Sons, 1964.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความลิขสิทธิ์