การใช้แหล่งข้อมูลเพื่อเดาความหมายคำศัพท์ในการอ่านภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนชั้นกลางตอนปลายชาวไทย

ผู้แต่ง

  • รวิสา ศรีโพธิ์ชัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ยุพกา ฟูกุชิม่า คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

แหล่งข้อมูล, การเดาความหมายคำศัพท์, การอ่านภาษาญี่ปุ่น

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การใช้แหล่งข้อมูลเพื่อเดาความหมายคำศัพท์ในการอ่านภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนชั้นกลางตอนปลายชาวไทย กลุ่มเป้าหมายได้แก่ผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชั้นกลางตอนปลาย ชาวไทยที่มีผลการสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาญี่ปุ่น (JLPT) ระดับ N2 จำนวน 28 คน โดยใช้แบบทดสอบการเดาความหมายคำศัพท์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยผลการวิจัยพบว่า ความสำเร็จในการเดาความหมายคำศัพท์ของผู้เรียนชั้นกลางตอนปลายชาวไทยโดย รวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยแหล่งข้อมูลที่ผู้เรียนเลือกใช้เดาความหมายคำศัพท์มากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ข้อมูลในระดับคำ ข้อมูลในระดับประโยค และข้อมูลในระดับคำร่วมกับระดับประโยค ส่วนแหล่งข้อมูลที่ช่วยให้ ผู้เรียนเดาความหมายคำศัพท์ได้ประสบความสำเร็จมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ข้อมูลในระดับคำ ข้อมูลใน ระดับคำร่วมกับระดับประโยค และข้อมูลในระดับประโยค อย่างไรก็ตาม สำหรับการเดาความหมายคำศัพท์ที่ ไม่เคยเห็นและไม่ทราบความหมาย การใช้ข้อมูลจากบริบท (ข้อมูลในระดับประโยคและข้อมูลในระดับบทอ่าน) จะทำให้สามารถเดาความหมายคำศัพท์ได้สำเร็จมากกว่าการใช้ข้อมูลในระดับคำเพียงแหล่งเดียวเล็กน้อย

References

เตวิช เสวตไอยาราม. (2559). กลยุทธ์การอ่านของ ผเู้รยีนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยที่มีความสามารถต่างกัน. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 33(2), 59-78. ปานเสก อาทรธุระสุข. (2557). กลยุทธ์การเรียนรู้ ภาษาญี่ปุ่นของนิสิตวิชาเอกภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 22(40), 1-21. ยุพกา ฟูกุชิม่า. (2554). ความเชื่อและกลยุทธ์ การเรียนรู้ของนิสิตวิชาเอกภาษาญี่ปุ่นชาวไทย. มนุษยศาสตร์ในทศวรรษใหม่: พลวัตแห่งองค์ ความรู้กับพหุลักษณ์ทางวัฒนธรรม, 103-120. สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2548). การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและ พัสดุภัณฑ์. อมรรัตน์ มะโนบาล และ เตวิช เสวตไอยาราม. (2560). การศึกษาความวิตกกังวลในการเรียนรู้ ภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนระดับต้นที่มีพื้นฐานภาษา ญี่ปุ่นแตกต่างกัน. วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา, 7(1), 33-50. Anderson, N. (1999). Exploring Second Language Reading: Issues and Strategies. Boston: Heinle and Heinle. Arlaiyart, Gun. (2015). Taijin shokyuu
nihongo gakushuusha no goi gakushuu sutoratejii no shiyou jittai: hoshuu jugyou jukousha o taishou ni shite. Journal of Japanese Language and Culture, (11), 39-65. (in Japanese) Huckin, T. and J. Bloch. (1993). Strategies for Inferring. Word-Meanings in Context: A cognitive model. In T. Huckin, M. Haynes, and J. Coady (eds.), Second Language Reading and Vocabulary Learning. (pp. 153-178). New Jersey: Ablex. Ishibashi, Reiko. (2009). Taijin gakushuusha no gengo gakushuu sutoratejii shiyou: sokudoku sukiru o donyuushita baai. Ajia ni okeru Nihongo Kyouiku: Gaikokugo toshite no Nihongo Shuushi Katei Setsuritsu Isshuunen Seminaa Ronbunshuu, 73-88. (in Japanese) Japan Foundation and Japan Educational Exchanges and Services. (2012). Japanese Language Proficiency Test Official
Practice Workbook N2. Tokyo: Bonjinsha. (in Japanese) Mori, Yoshiko. (2002). Individual differences in the integration of information from context and word parts in interpreting unknown Kanji words. Applied Psycholinguistics, 23, 375-397. Nassaji, H. (2003). L2 vocabulary learning from context: Strategies, knowledge sources, and their relationship with success in L2 lexical inferencing. Tesol Quarterly, 37(4), 645-670. Noda, Hisashi. (2014). Joukyuu nihongo gakushuusha ga gakujutsu ronbun o yomu toki no houhou to kadai. Journal of Technical Japanese Education, 16, 9-14. (in Japanese) Nomura, Masaaki. (1999). Basic 3000 Chinese-styled words based on statistical research in modern Japanese. Bulletin of Center for Japanese Language, Waseda University, (12), 21-54. (in Japanese) O’ Malley, J. M. and A. U. Chamot. (1990). Learning Strategies in Second Language Acquisition. Cambridge: Cambridge University. Oxford, R. L. (1990). Language Learning Strategies: What Every Teachers Should Know. Boston: Heinle and Heinle. Rubin, J. (1987). Learner Strategies:
Theoretical assumptions, research history and typology. In A. Wenden and J. Rubin. (eds.). Learner Strategies in Language Learning. (pp. 15-30). Hertfordshire: Prentice Hall International. Sanguansri, Thanyarat. (2016). Relationship between reading anxiety, language learning anxiety, and reading comprehension in Japanese as a foreign language: a case of Thai college students. Studies in Language Sciences, 22, 45-64. (in Japanese) Ulambayar, Tsetsegdulam. (2013). The efficacy of instruction encouraging lexical inference of the meaning of unknown Kanji words: from the perspective of the use and accuracy of knowledge sources at lexical inference. Acquisition of Japanese as a Second Language, 16, 178-195. (in Japanese) Yamagata, Junko. (2008). Japanese learners' lexical inferencing in text comprehension: the effects of L2 linguistic knowledge and native language background. Japanese Language Teaching, 139, 42-51. (in Japanese)
Yamagata, Junko. (2013). Dainigengo Dokkai ni okeru Goi Suisoku: Goi Chishiki, Bogo Haikei, oyobi, Tekusuto no Topikku e no Najimi Fukasa ga Oyobosu Eikyou. Doctorial dissertation, Kanda University of International Studies. (in Japanese)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-11-23