การศึกษาเปรียบเทียบระบบบำนาญของประเทศญี่ปุ่นกับประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระบบบำนาญของประเทศญี่ปุ่นกับประเทศไทย ผ่านการรวบรวมเอกสาร นโยบาย สื่อสิ่งพิมพ์ ข่าว นำมาวิเคราะห์เพื่อหาคำตอบของวัตถุประสงค์ ผลการศึกษาพบว่า ประเทศญี่ปุ่นเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างรวดเร็ว จากจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นและอัตราการเกิดที่ลดลง รวมไปถึงปัจจัยทางเศรษฐกิจ เช่นภาวะเงินเฟ้อ การขาดแคลนแรงงานในระบบและอัตราการว่างงานที่สูงขึ้น ทำให้ระบบบำนาญของญี่ปุ่นไม่สามารถตอบสนองต่อปัญหาที่เกิดขึ้นได้ ผู้สูงอายุชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่จึงเลือกย้ายถิ่นไปยังประเทศที่มีค่าครองชีพถูกกว่า หรือแม้กระทั่งเลือกก่อคดีลหุโทษเพื่อที่จะพึ่งพาการใช้ชีวิตในคุก ในส่วนของประเทศไทยก็กำลังประสบปัญหาเช่นเดียวกันกับประเทศญี่ปุ่น แต่ด้วยการจัดการระบบบำนาญไทยนั้นแตกต่างกับประเทศญี่ปุ่น ที่มีความซับซ้อนและดูแลผ่านหลายองค์กร ไม่มีกองทุนส่วนกลางเช่นเดียวกับประเทศญี่ปุ่น เงินยังชีพผู้สูงวัยที่สวนทางกับค่าครองชีพ นั่นอาจทำให้ปัญหาเรื่องการเกษียณอายุของไทยนั้นด้อยกว่าประเทศญี่ปุ่น ข้อเสนอที่ได้จากการศึกษา ได้แก่ การปรับปรุงให้ผู้สูงอายุชาวไทยสามารถเข้าถึงกองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้ทุกคน และจัดตั้งระบบการบริหารเกี่ยวกับการเกษียณอายุให้มีความยืดหยุ่นและคล่องตัวมากยิ่งขึ้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ มหาวิทยาลัยมหิดล อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาต CC Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) โดยต้องแสดงที่มา/การอ้างอิงจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลงเนื้อหา
- ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ (ซึ่งหมายรวมถึง บรรณาธิการ ผู้ทรงคุณวุฒิในกองบรรณาธิการ หรือ บรรณาธิการรับเชิญ) แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ
- กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการตัดทอน/ปรับแก้ถ้อยคำบางประการเพื่อความเหมาะสม
References
กรมกิจการผู้สูงอายุ. (ม.ป.ป). การรับเบี้ยผู้สูงอายุ. https://www.dop.go.th/th/faq/view=967
ทีมข่าวต่างประเทศโพสต์ทูเดย์. (2559). รอบโลก. https://www.posttoday.com/world/424134
ประชาชาติธุรกิจ. (2561). ข่าวรอบวัน. https://www.prachachat.net/breaking-news/news-106357
แพรวพรรณ ศิริพร (2567). SDG Updates | ขจัดปัญหา “เเก่ก่อนรวย” หลังเข้าสู่สังคมสูงวัย ประเทศไทยพร้อมเเค่ไหน? . https://www.sdgmove.com/2024/03/08/sdg-updates-aged-society-preparation-and-policy/
โพสต์ทูเดย์. (2562). ทำไมญี่ปุ่นถูกจัดอันดับให้มีระบบบำนาญแย่ที่สุดเหมือนไทยตามรายงานบลูมเบิร์ก. https://www.posttoday.com/international-news/604567
วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์. (2566). เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุปี 2566: จาก ‘แก่ก่อนรวย’ สู่ ‘แก่ด้วย จนด้วย’. https://thestandard.co/senior-allowance-2023-old-and-poor/
วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์. (2561). การออกแบบระบบบำนาญแห่งชาติ นโยบายและการจัดการ. TDRI.
วรเวศม์ สุวรรณระดา. (2566). การสร้างคุณภาพชีวิตที่ดียามชราภาพ โดยเน้นผู้สูงวัยเป็นศูนย์กลางการตกลงเรื่อง "คุณค่า" และการให้บทบาทที่ชัดเจนต่อภาครัฐระดับท้องถิ่นจำเป็นต่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงวัย. https://www.pier.or.th/abridged/2023/21
ศิริพร สุขุมศิริมงคล. (2560). ระบบบำนาญของประเทศญี่ปุ่น save and investment. จุลสารการออมและการลงทุน, 4(62), 1-4.
สุภางค์ จันทวานิช. (2551). ทฤษฎีสังคมวิทยา. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
BBC Thai. (2019). เมื่อโลกมีผู้สูงวัยมากกว่าเด็ก ชีวิตเราเปลี่ยนไปอย่างไร.https://www.bbc.com/thai/international-47801600
Chaiwanitphon, N. (2018). ‘Nenkin’ เงินบำนาญสำหรับผู้สูงวัยทั่วไป กับปัญหาที่ลูกหลานลักไก่เอาไปใช้เอง. https://thematter.co/thinkers/nenkin-pension-for-elder/57205
Fukuyama, E. (2018). Eonomy. https://asia.nikkei.com/Politics-Economy/Economy/From-elderly-to-superelderly-Japan-wrestles-with-demography?n_cid=NARAN185&utm_source=facebook&utm_medium=infeed&utm_campaign=IC%20V2min&utm_content=FB%20Japan%20Update
Japan Pension Service. (2024). National pension system. https://www.nenkin.go.jp/international/japanese-system/nationalpension/nationalpension.html
Thai PBS. (2023). "เชียงใหม่" ทางเลือกต่างชาติวัยเกษียณ. https://www.thaipbs.or.th/news/content/324747
The Japan Time. (2023). Number of centenarians in Japan hits record 92,139. https://www.japantimes.co.jp/news/2023/09/15/japan/centenarians-record- number/
Voice Online. (2018). ฉันเผลอหลับระหว่างออกเดท "สาว ๆ ญี่ปุ่นเหนื่อยงานจนไม่อยากมีแฟน". https://voicetv.co.th/read/rkJAGDmcQ
Voice Online. (2019). ประชากรสูงอายุญี่ปุ่นมีอัตราอยู่คนเดียวมากขึ้น.https://voicetv.co.th/read/wDmMeG9D7
Yokomichi, K. (2554). การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นญี่ปุ่น. http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%A3%
Young Matter. (2021). เมื่อโลกเข้าสู่สังคมสูงวัย สำรวจสวัสดิการผู้สูงอายุแต่ละประเทศเป็นยังไงบ้าง?. https://thematter.co/social/social-welfare-in-other-country/134828