ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสัมพันธภาพระหว่างนักเรียนกับบิดามารดา: กรณีศึกษานักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตกรุงเทพมหานคร
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับสัมพันธภาพระหว่างนักเรียนกับบิดามารดา และสัมพันธภาพระหว่างบิดามารดากับผู้สูงอายุในบ้าน และศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างนักเรียนกับบิดามารดา การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้การสำรวจผ่านแบบสอบถาม กับกลุ่มตัวอย่างนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนแห่งหนึ่ง ที่ตั้งอยู่ในทิศตะวันออกของกรุงเทพมหานคร จำนวน 300 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ผลการศึกษา พบว่า สัมพันธภาพระหว่างนักเรียนกับบิดามารดาในภาพรวม อยู่ในระดับดีการรับรู้สัมพันธภาพที่ดีระหว่างบิดามารดากับผู้สูงอายุ ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับการรับรู้สัมพันธภาพที่ดีระหว่างบิดามารดากับผู้สูงอายุ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ผลการทดสอบ Chi-Square พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างนักเรียนกับบิดามารดา ได้แก่ การรรับรู้สัมพันธภาพที่ดีระหว่างบิดามารดากับผู้สูงอายุ ระดับการศึกษาของบิดา อาชีพของบิดา และอาชีพของมารดา ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และผู้ปกครอง ควรมีส่วนร่วมในการส่งเสริมให้ครอบครัวคนไทยเกิดความอบอุ่น และลดพฤติกรรมวัยรุ่นที่เป็นปัญหาของสังคม โดยพัฒนากลยุทธ์ต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างนักเรียนกับบิดามารดา ตลอดจนส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างบิดามารดากับผู้สูงอายุ เพื่อให้นักเรียน/วัยรุ่นสามารถซึมซับพฤติกรรมที่ดีของบิดามารดา ตลอดจนเลียนพฤติกรรมเหล่านั้นเมื่อพวกเขาเติบโตต่อไป
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ มหาวิทยาลัยมหิดล อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาต CC Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) โดยต้องแสดงที่มา/การอ้างอิงจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลงเนื้อหา
- ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ (ซึ่งหมายรวมถึง บรรณาธิการ ผู้ทรงคุณวุฒิในกองบรรณาธิการ หรือ บรรณาธิการรับเชิญ) แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ
- กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการตัดทอน/ปรับแก้ถ้อยคำบางประการเพื่อความเหมาะสม
References
กาญจนา ตั้งชลทิพย์. (2564). บทที่ 4 ตัวชี้วัดครอบครัวอยู่ดีมีสุขในประเทศไทย. ใน รศรินทร์ เกรย์ และ กาญจนา ตั้งชลทิพย์ (บรรณาธิการ), นิยาม ประเภทครอบครัว และดัชนีตัวชี้วัดครอบครัวอยู่ดีมีสุข: การทบทวนวรรณกรรม (หน้า 74 – 109). มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. บริษัท พิมพ์ดี จำกัด (สำนักงานใหญ่).
กนกพร กระจ่างแสง, กมลพิพัฒน์ ชนะสิทธิ์ และ ธีระวัฒน์ จันทึก. (2561). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงต่อผู้อื่นของวัยรุ่นตอนกลาง.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 12(27), 97-110.
กวินารัตน์ สุทธิสุคนธ์, จิราพร ชมพิกุล และ เกรียงศักดิ์ ธรรมอภิพล. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อสัมพันธภาพในครอบครัวไทย. วารสารบริหารท้องถิ่น, 10(2), 151-168.
กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2562). นิยามและประเภทครอบครัว. https://infocenter.nationalhealth.or.th/sites/default/files/นิยามและประเภทครอบครัว.pdf
กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน. (2563). รายงานสถิติคดี ประจำปีงบประมาณ 2563. https://www.djop.go.th/images/djopimage/year63-2.pdf
กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน. (2565). รายงานสถิติคดี ประจำปีงบประมาณ 2565. https://www.djop.go.th/storage/files/2/รายงานสถิติคดี%202565.pdf
จินตกานด์ สุธรรมดี, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี และ เสกสรรค์ สนวา. (2561). รูปแบบการขัดเกลาทางสังคมเพื่อพัฒนาจิตพฤติกรรมเด็กและเยาวชน ในจังหวัดชัยภูมิ.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 20(1), 67-79.
นิตยา คชภักดี. (2545). รายงานวิจัย โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาตัวชี้วัด “ครอบครัวอยู่ดีมีสุข”. สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปริศนา กาญจนกันทร และ สุพรรณี ไชยอำพร. (2562). ตัวแบบความสัมพันธ์ในครอบครัวไทยยุคโลกาภิวัตน์. วารสารพัฒนาสังคม, 21(2), 164-186.
มนัท สูงประสิทธิ์. (2560). อิทธิพลครอบครัวที่ส่งผลต่อตัวเด็กโดยตรง. ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี. https://www.rama.mahidol.ac.th/ramachannel/article/อิทธิพลครอบครัว-ที่ส่งผ/
รุจา ภู่ไพบูลย์, เดชาวุธ นิตยสุทธิ, วรรณี เดียวอิศเรศ, ดารุณี จงอุดมการณ์, ระพีพรรณ คำหอม, จิตตินันท์ เดชะคุปต์, จินตนา วัชรสินธุ์, ถวัลย์ เนียมทรัพย์, สาวิตรี ทยานศิลป์ และ ทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิลล์. (2563). การพัฒนาแบบวัดความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 28(1), 28-37.
รุ่งฤดี วงค์ชุม. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะสัมพันธภาพในครอบครัวและความผูกพันระหว่างบิดามารดากับบุตรกับพฤติกรรมความรุนแรงของวัยรุ่น. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 20(28), 8-23.
วนัญญา แก้วแก้วปาน. (2560). สัมพันธภาพครอบครัวกับปัญหาการกระทำความผิดในวัยรุ่น. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ, 12(27), 97-110.
สมิธ วุฒิสวัสดิ์. (2552). การศึกษาสัมพันธภาพในครอบครัวของนักเรียนในช่วงชั้น 2. สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการแนะแนว มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม. (2564). นิยาม ประเภทครอบครัว และดัชนีตัวชี้วัดครอบครัวอยู่ดีมีสุข: การทบทวนวรรณกรรม. มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. บริษัท พิมพ์ดี จำกัด (สำนักงานใหญ่).
Accordino, M. P., & Guerney, B. G. (2003). Relationship enhancement couples and family outcome research of the last 20 years. The Family Journal, 11(2), 162–166. https://doi.org/10.1177/1066480702250146
Allen, K. R., & Henderson, A. C. (2017). Family theories: Foundations and applications. Wiley Blackwell.
Best, J. W. (1981). Research in education (4th ed.). Prentice Hall.
Demir, T., & Drentea, P. (2016). Family as a social institution. In C. L. Shehan (Ed.), Encyclopedia of family studies (1st ed., pp. 1–3). Wiley. https://doi.org/10.1002/9781119085621.wbefs253
Elder, G. H. (1998). The life course as developmental theory. Child Development, 69(1), 1–12. https://doi.org/10.1111/j.1467-8624.1998.tb06128.x
Epstein, N. B., Bishop, D. S., & Levin, S. (1978). The McMaster model of family functioning. Journal of Marital and Family Therapy, 4(4), 19–31. https://doi.org/10.1111/j.1752-0606.1978.tb00537.x
Frick, P. J. (1994). Family dysfunction and the disruptive behavior disorders. In T. H. Ollendick & R. J. Prinz (Eds.), Advances in clinical child psychology (pp. 203–226). Springer US. https://doi.org/10.1007/978-1-4757-9041-2_7
Greeff, A. P. (2000). Characteristics of families that function well. Journal of Family Issues, 21(8), 948–962. https://doi.org/10.1177/019251300021008001
Hoeve, M., Dubas, J. S., Eichelsheim, V. I., Van Der Laan, P. H., Smeenk, W., & Gerris, J. R. M. (2009). The relationship between parenting and delinquency: A meta-analysis. Journal of Abnormal Child Psychology, 37(6), 749–775. https://doi.org/10.1007/s10802-009-9310-8
Hoeve, M., Stams, G. J. J. M., Van Der Put, C. E., Dubas, J. S., Van Der Laan, P. H., & Gerris, J. R. M. (2012). A meta-analysis of attachment to parents and delinquency. Journal of Abnormal Child Psychology, 40(5), 771–785. https://doi.org/10.1007/s10802-011-9608-1
Krishnakumar, A., & Buehler, C. (2000). Interparental conflict and parenting behaviors: A meta-analytic review. Family Relations, 49(1), 25–44. https://doi.org/10.1111/j.1741-3729.2000.00025.x
Maccoby, E. E. (1994). The role of parents in the socialization of children: An historical overview. In R. D. Parke, P. A. Ornstein, J. J. Rieser, & C. Zahn-Waxler (Eds.), A century of developmental psychology. (pp. 589–615). American Psychological Association. https://doi.org/10.1037/10155-021
Mayer, K. U. (2009). New directions in life course research. Annual Review of Sociology, 35(1), 413–433. https://doi.org/10.1146/annurev.soc.34.040507.134619
Meeus, W., Branje, S., & Overbeek, G. J. (2004). Parents and partners in crime: A six-year longitudinal study on changes in supportive relationships and delinquency in adolescence and young adulthood. Journal of Child Psychology and Psychiatry, 45(7), 1288–1298. https://doi.org/10.1111/j.1469-7610.2004.00312.x
Noor, N. M., Gandhi, A. D., Ishak, I., & Wok, S. (2014). Development of indicators for family well-being in Malaysia. Social Indicators Research, 115(1), 279–318. https://doi.org/10.1007/s11205-012-0219-1
Piquero, A. R., Jennings, W. G., Diamond, B., Farrington, D. P., Tremblay, R. E., Welsh, B. C., & Gonzalez, J. M. R. (2016). A meta-analysis update on the effects of early family/parent training programs on antisocial behavior and delinquency. Journal of Experimental Criminology, 12(2), 229–248. https://doi.org/10.1007/s11292-016-9256-0
Polit, D. F., & Beck, C. T. (2006). The content validity index: Are you sure you know what’s being reported? Critique and recommendations. Research in Nursing & Health, 29(5), 489–497. https://doi.org/10.1002/nur.20147
Rettig, K. D., & Bubolz, M. M. (1983). Perceptual indicators of family well-being. Social Indicators Research, 12(4), 417–438. https://doi.org/10.1007/BF00300447
Rogers, P. (2017). Family is NOT an institution: Distinguishing institutions from organizations in social science and social theory. International Review of Sociology, 27(1), 126–141. https://doi.org/10.1080/03906701.2016.1235214
Rothbaum, F., Rosen, K., Ujiie, T., & Uchida, N. (2002). Family systems theory, attachment theory, and culture. Family Process, 41(3), 328–350. https://doi.org/10.1111/j.1545-5300.2002.41305.x
Salmi, V., & Kivivuori, J. (2006). The association between social capital and juvenile crime: The role of individual and structural factors. European Journal of Criminology, 3(2), 123–148. https://doi.org/10.1177/1477370806061967
Van Eldik, W. M., De Haan, A. D., Parry, L. Q., Davies, P. T., Luijk, M. P. C. M., Arends, L. R., & Prinzie, P. (2020). The interparental relationship: Meta-analytic associations with children’s maladjustment and responses to interparental conflict. Psychological Bulletin, 146(7), 553–594. https://doi.org/10.1037/bul0000233
Wells, L. E., & Rankin, J. H. (1991). Families and delinquency: A meta-analysis of the impact of broken homes. Social Problems, 38(1), 71–93. https://doi.org/10.2307/800639
Wright, J. P., & Cullen, F. T. (2001). Parental efficacy and delinquent behavior: Do control and support matter? Criminology, 39(3), 677–706. https://doi.org/10.1111/j.1745-9125.2001.tb00937.x
Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis. Harper & Row.
Zemp, M., Friedrich, A. S., Schirl, J., Dantchev, S., Voracek, M., & Tran, U. S. (2021). A systematic review and meta-analysis of the associations between interparental and sibling relationships: Positive or negative? PLOS ONE, 16(9), e0257874. https://doi.org/10.1371/journal.pone.0257874