การจัดการปัญหาขยะในชุมชนแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนต้นแบบนำร่องการจัดการขยะต้นทาง “ชุมชนบ้านม่วงหวาน ( มัสยิดซำซุ่ลฮุดาห์)” ตำบลมหาพราหมณ์ อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Main Article Content
บทคัดย่อ
ปัญหาขยะเป็นปัญหาที่เรื้อรังที่อยู่คู่กับสังคมไทยเป็นระยะเวลานาน ประกอบกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและสังคม นอกจากขยะที่จะเพิ่มปริมาณมากขึ้นแล้ว ผลกระทบที่ตามมา คือ ปัญหาสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ทำให้มนุษย์เกิดโรคภัยไข้เจ็บ หากไม่ดำเนินถูกต้องปัญหาขยะจะยังส่งผลกระทบและกลายเป็นวิกฤตที่ร้ายแรงได้ในอนาคต ซึ่งหนึ่งในสาเหตุหลักคือการขาดความร่วมมือของประชาชนในชุมชน การจัดการปัญหาขยะจึงต้องอาศัยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมร่วมกันแก้ไขด้วยการลดขยะ ณ แหล่งกำเนิด ประกอบด้วยหลัก3Rs และประชารัฐ เพื่อลดปัญหาการเกิดขยะ และระยะเวลาการกำจัดขยะ ซึ่งชุมชนบ้านม่วงหวาน ( มัสยิดซำซุ่ลฮุดาห์)” ตำบลมหาพราหมณ์ อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้นำหลักดังกล่าวไปปฏิบัติจนประสบผลสำเร็จและได้รับการคัดเลือกพร้อมโล่รางวัลชนะเลิศ ที่ได้รับคัดเลือกเป็น “หมู่บ้าน/ชุมชนสะอาด ในระดับอำเภอ ประจำปี 2560”
Article Details
- วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ มหาวิทยาลัยมหิดล อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาต CC Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) โดยต้องแสดงที่มา/การอ้างอิงจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลงเนื้อหา
- ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ (ซึ่งหมายรวมถึง บรรณาธิการ ผู้ทรงคุณวุฒิในกองบรรณาธิการ หรือ บรรณาธิการรับเชิญ) แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ
- กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการตัดทอน/ปรับแก้ถ้อยคำบางประการเพื่อความเหมาะสม
References
Vroom V. H., & Deci, E. L. (1970). Management and Motivation. New York: New York: Penguen Book.
Boonroungrut, J & One, K. (2017). Effective Behavior-Based Solid Waste Management of Korean in South Korea : Missing lessons in Thai Society. [Online]. Retrieved October 12, 2019 from : https://www.slideshare.net/chichioio/effective-behaviorbased-solid-waste-management-of-korean-in-south-korea-missing-lessons-in-thai-society. (in Thai)
ชินัณ บุญเรืองรัตน์ และคิมวัน. (2560). พฤติกรรมการจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพของชาวเกาหลี ในประเทศเกาหลีใต้: บทเรียนที่ไม่เคยสอนในสังคมไทย. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2562, จาก : https://www.slideshare.net/chichioio/effective-behaviorbased-solid-waste-management-of-korean-in-south-korea-missing-lessons-in-thai-society
Boonyawat, W. (2019). The Implementation of Waste Management Policy of Phra Nakhon Si Ayutthaya Provincial Administrative Organization. Master’s Thesis Srinakharinwirot University. (In Thai)
วงศ์วรรธน์ บุญวัฒน์. (2562). การนำนโยบายการจัดการขยะขององค์การบริหารส่วนจังหวัดพระนครศรีอยุธยาไปปฏิบัติ. ปริญญานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (นโยบายสาธารณะ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Department of Health. (2018). Ministerial Regulation Hygienic Waste Management B.E.2560 (2017). [Online]. Retrieved October 12, 2019 from : http://laws.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/laws/download/about_laws_2017/laws_public/... (in Thai)
กรมอนามัย. (2560). กฎกระทรวง สุขลักษณะการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ. 2560. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2562, จาก : http://laws.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/laws/download/about_laws_2017/laws_public/...
Department of Local Administration, Pollution Control Department. (n.d.). Action Plan “Zero Waste Thailand” during 1 year (2016 – 2017). Retrieved October 12, 2019 from : http://infofile.pcd.go.th/waste/ThaiPlanswithoutWaste.pdf... (in Thai)
กรมส่งเสริมปกครองส่วนท้องถิ่น กรมควบคุมมลพิษ. (มปป.). แผนปฏิบัติการ “ประเทศไทย ไร้ขยะ” ตามแนวทาง “ประชารัฐ” ระยะ 1 ปี (พ.ศ. 2559 – 2560). [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2562, จาก : http://infofile.pcd.go.th/waste/ThaiPlanswithoutWaste.pdf...
Hanphichai, S & Janla, J. (2018). Public Participation in Waste Management of Lamnara Municipality, Chaibadan District, Lopburi Province. Suranaree Journal of Social Science. 12(1): 67-85. (In Thai)
สุริยะ หาญพิชัย และจันทร์ฉาย จันทร์ลา. (2561). การจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของเทศบาลตำบลลำนารายณ์ อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี. 12(1): 67-85.
Jeamponk, P & Choo-In, S. (2017). Solid Waste Management. (1st Ed.). Bangkok : Chulalongkorn University Press. (In Thai)
ไพบูลย์ แจ่มพงษ์ ศิวพันธุ์ ชูอินทร์. (2560). การจัดการขยะมูลฝอย. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Matichon Online. (2019). Thai elderly climbed up at 11.3 Million people ranking - Statistical Office plan to impose a policy to support about having childbirth for the nation. [Online]. Retrieved September 28, 2019 from : https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_911854. (in Thai)
Matichon Online. (2562). สูงวัยไทยไต่ระดับ11.3 ล้านคน-สำนักงานสถิติเล็งออกนโยบายหนุนมีลูกเพื่อชาติ. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 28 กันยายน 2562, จาก : https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_911854
Meesiri, K. (2016). Key Success Factors Of Community Based Solid Waste Management: A Case Study Of Ket Piroh Community 3, 4, 5 Phrakanong District Bangkok Metropolitan. Master’s Independent Study Thammasat University (in Thai).
กิตติ มีศิริ. (2559). ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนเกตุไพเราะ 3,4,5 เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระรัฐศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Namburi, S. (2019). Participation Theory in Public Administration. The Journal of Research and Academic. 2(1): 4. (In Thai)
สมบัติ นามบุรี. (2562). ทฤษฎีการมีส่วนร่วมในงานรัฐประศาสนศาสตร์. วารสารวิจยวิชาการ. 2(1): 4.
Ruangvatasilp, S. (2007). Community participation in educational management in the service area of Lomrad Wittaya School, Thoen District, Lampang Province. Master’s Thesis Chiang Mai University. (in Thai)
ทรงวุฒิ เรืองวาทะศิลป์. (2550). การมีส่วนร่วมของชุมชน ในการจัดการศึกษาในพื้นที่บริการของโรงเรียนล้อมแรดวิทยา อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Sujjanun, J. (2006). Education and community development. (1st Ed.). Chiang Mai : Chiang Mai University. (in Thai)
จินตนา สุจจานันท์. (2549). การศึกษาและการพัฒนาชุมชน. (พิมพ์ครั้งที่ 1). เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Suwanapuksin, P & Thiphom, P. (2019). A Study of Successful Solid Waste Management of Model Communities; a Case Study of the Winner Award Communities for the Zero Waste Projects in Phitsanulok Municipality. KKU Journal for Public Health Research. 9(2): 17-25. (in Thai)
ปัทมาภรณ์ สุวรรณปักษิน และสรัญญา ถี่ป้อม. (2562). การจัดการมูลฝอยที่ประสบความสำเร็จขุมชนต้นแบบ กรณีศึกษาชุมชนที่ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดชุมชนปลอดขยะ Zero Waste ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 9(2): 17-25.
ThaiPublica. (2017). South Korea Go Forward To Reduce Food Waste Use Technology To Develop Systems “Pay-As-You-Recycle” That Can Be Able To Pay At Garbage And Recycle 95%. [Online]. Retrieved October 12, 2019 from : https://thaipublica.org/2019/05/south-korea-food-wast-recycle-rfid-bin/?fbclid=IwAR0t5nooQXssmkZWy607PybU_6EQSHve_Of_4khnCTSTiADegka54bqMDG4. (in Thai)
ไทยพับลิก้า. (2560). เกาหลีใต้เดินหน้าลดขยะอาหาร ใช้เทคโนโลยีพัฒนาระบบ Pay-as-You-Recycle จ่ายเงินที่ถังขยะ รีไซเคิลได้ 95. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2562, จาก : https://thaipublica.org/2019/05/south-korea-food-wast-recycle-rfid-bin/?fbclid=IwAR0t5nooQXssmkZWy607PybU_6EQSHve_Of_4khnCTSTiADegka54bqMDG4
Thapinta, A. (2010). Introduction to Solid Waste. Bangkok : Chulalongkorn University Press. (In Thai)
อาณัติ ต๊ะปินตา. (2553). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Waste and Hazardous Substances Management Bureau, Pollution Control Department. (2018). The Performance 3 (usage) 3r For Community Waste Management Manual. (2nd Ed.). Bangkok : He. (in Thai)
สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ. (2561). คู่มือปฏิบัติการ 3(ใช้) 3r เพื่อจัดการขยะชุมชน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ฮีช์.
Waste and Hazardous Substances Management Bureau, Pollution Control Department, Ministry Of Natural Resources And Environment. (2019). Summary report of Thailand's pollution situation in Thailand 2018. Bangkok: Department. (in Thai)
กองจัดการกากของเสียและอันตราย กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2562). รายงานสรุปสถานการณ์มลพิษของประเทศไทยของประเทศไทย ปี 2561. กรุงเทพฯ : กรมฯ.
Waste And Hazardous Substances Management Bureau, Pollution Control Department. (2008). The Manual Of Guidelines Reduce, Sorting Waste And Solid Waste Utility Usage For Natural Resources And Environmental Protection Volunteer. (1st Ed.). Bangkok : Rungrueang Printing (1997). (in Thai)
สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ. (2551). คู่มือแนวทางการลด คัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย สำหรับอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1997).