วาระนโยบายการศึกษาในศตวรรษที่ 21: นโยบายทางเลือกหรือ นโยบายทางรอดของประเทศไทย วาระนโยบายการศึกษาในศตวรรษที่ 21: นโยบายทางเลือกหรือ นโยบายทางรอดของประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาเป็นรากฐานที่สำคัญต่อการเตรียมความพร้อมสำหรับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21เพื่อให้ประชากรมีทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่ 21 และความสามารถในการถูกจ้างงาน แต่อย่างไรก็ตามภาครัฐต้องมีการกำหนดนโยบายอย่างชัดเจน และมีนำนโยบายไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในอนาคต ซึ่งจะเห็นได้จากตัวอย่างของประเทศเกาหลีใต้ และการจัดการศึกษาในรัฐแคลิฟอร์เนีย ในกรณีประเทศไทยจึงควรมีการพิจารณาถึงความสำคัญในนโยบายดังกล่าว และมีเกณฑ์ที่พิจารณาว่ามีการเตรียมพร้อมสำหรับวาระนโยบายการศึกษาในศตวรรษที่ 21 เพื่อเป็นสิ่งกระตุ้นเตือนว่านโยบายดังกล่าวควรมีการให้ความสนใจอย่างแท้จริง ลักษณะการศึกษาในศตวรรษที่ 21 คือ ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เน้นกระบวนการเรียนรู้ เพื่อสร้างทักษะ
Article Details
- วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ มหาวิทยาลัยมหิดล อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาต CC Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) โดยต้องแสดงที่มา/การอ้างอิงจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลงเนื้อหา
- ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ (ซึ่งหมายรวมถึง บรรณาธิการ ผู้ทรงคุณวุฒิในกองบรรณาธิการ หรือ บรรณาธิการรับเชิญ) แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ
- กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการตัดทอน/ปรับแก้ถ้อยคำบางประการเพื่อความเหมาะสม
References
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2555). สยามอารยะแมนนิเฟสโต:แถลงการณ์สยามอารยะ. ซัคเซสมีเดีย :กรุงเทพฯ
พรชุลี อาชวอำรุง. (2542). สู่รัฐแห่งการเรียนรู้:การอุดมการศึกษาในมลรัฐแคลิฟอร์เนียสู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
ฤตินันท์ สมุทร์ทัย. (2556). การวิจัยนำร่องการพัฒนาหลักสูตรการผลิตครูสำหรับศตวรรษที่ 21. การประชุมทางวิชาการการวิจัยทางการศึกษาระดับชาติครั้งที่ 15 เรื่อง"การศึกษาเพื่ออนาคตประเทศไทย" (น. 130-139). กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2553). นโยบายสาธารณะ : แนวความคิด การวิเคราะห์ และกระบวนการ. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2546). การปฏิรูปการศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 21 เพื่อความเป็นผู้นำในยุคสารสนเทศและโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ: สำนักพัฒนาระบบการศึกษาและวางแผนมหภาค สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
สุชาต อุดมโสภกิจ. (2012). ทักษะที่จำเป็นสำหรับคนในศตวรรษที่ 21. I Focus Vol.39 (225) , 47-51.
Hanover Research. (2011). A Crosswalk of 21st Century Skills. Washington: Hanover Research.
Kingdon, J. W. (2007). "How does an Idea's Time Come?Agenda,Alternative,and Public Policies". Classics of Public Administration , p. 445-459.
Lee, W. O. (2013). The Conceptual Framework of the 21st Century Competenies. Singapore: National Institute of Education Singapore.
McQuaid, R. W., & Lindsay, C. (2005). The Concept of Employability. Urban Studies, 42(2) , 197-219.
Partnership for 21st Century Skills. (2011). Framework for 21st Century Skills. Washington DC: Partnership for 21st Century Skills.
Partnership for 21st Century Skills. (2009). P21 Framework Definitions. Washington DC: Partnership for 21st Century Skills.
STEMNET. (n.d.). Retrieved from Top 10 Employability Skills.
The Gallup Organization. (2010). Employers' perception of graduate employability. n.p.: European Commission.
Toffler, A. (1980). Future Shock the Third Wave. USA: William Morrow.
Trilling, B., & Fadel, C. (2009). 21st Century Skills Learning for Life in Our Times. Francisco: Jossey-Bass.
Yorke, M., & Knight, P. T. (2006). Embedding employability into the curriculum. York: The Higher Education Academy.