การเรียนรู้เชิงรุกวิถีใหม่ เพื่อเปิดประสบการณ์การเรียนรู้บนโลกเสมือนจริง

Main Article Content

นภัสวรรณ สุพัตร
เอกนฤน บางท่าไม้
สิทธิชัย ลายเสมา

บทคัดย่อ

 ปัจจุบันพบหลายปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการการเรียนรู้ของนักเรียน ได้แก่ ความขาดแคลนแรงจูงใจในการเรียน การจัดสรรเวลาของผู้เรียน ความขาดเชื่อมั่นในตนเอง และขาดทรัพยากรการเรียนรู้ที่เพียงพอ ด้วยเหตุนี้การส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพและศักยภาพทางการศึกษาของผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียนรู้เชิงรุกเป็นสิ่งสำคัญ โดยการให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการคิดวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และลงมือปฏิบัติ การใช้เทคโนโลยี Virtual Reality จึงเป็นหนึ่งในวิธีที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้กับกระบวนการเรียนรู้ เช่น เพิ่มความสนใจและกระตุ้นกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน สร้างสถานการณ์การเรียนรู้ ที่เชื่อมโยงผู้เรียนกับชีวิตจริง ประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านการเล่นเกมบนโลกเสมือนจริง และสร้างประสบการณ์ การเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติบนสถานการณ์จำลอง ดังนั้น การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี VR กับการศึกษานั้น มีทั้งโอกาสและความท้าทายในการสนับสนุนทางการศึกษา โดยเปลี่ยนวิธีการเรียนรู้แบบเดิมเป็นการเรียนรู้เชิงรุกอย่างสร้างสรรค์และกว้างขวางมากขึ้นในโลกอนาคต

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Articles

References

กมล โพธิเย็น. (2563). จิตวิทยาเพื่อการเรียนรู้. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร

กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย. (2564, 25 มกราคม). AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล. https://www.slideshare.net/kha00at/ar-vr-metaverse-252057145

เกมโลกเสมือนจริง (Virtual Reality) ทางเลือกใหม่ฟื้นฟูผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง. (2562,14 พฤษภาคม), HFocus เจาะลึกระบบสุขภาพ. https://www.hfocus.org/content/2019/05/17163

ณัฐนนท์ เกษตรเอี่ยม. (2565). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์รูปแบบจักรวาลนฤมิตร่วมกับกระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning รายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี เรื่องเทคโนโลยีแก้ปัญหา ของนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมปีที่ 3. [การค้นคว้าอิสระ, มหาวิทยาลัยนเรศวร]. http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5523

ธนภัทร ศรีผ่าน และภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร. (2565). การพัฒนาขั้นสุดท้ายของนวัตกรรมและบทบาทของเมตาเวิร์สเพื่อการศึกษาและการฝึกอบรมในยุคเน็กซนอรมอล. วารสารนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา, 7(2), 174–188. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journalcim/article/view/260360/

ยกระดับอุตสาหกรรมการผลิตด้วยเทคโนโลยี VR/AR เทคโนโลยีที่จะเข้ามาช่วยปฏิวัติให้กับวงการอุตสาหกรรมการผลิต. (2565,4 เมษายน), Infographic Thailand. https://infographicthailand.com/ยกระดับอุตสาหกรรมการผล/

รวิน ระวิวงศ์. (2565). แนวทางการพัฒนาแพลตฟอร์มโลกเสมือน (Metaverse) เพื่อยกระดับแหล่งเรียนรู้และการบริการแห่งอนาคต. วารสารรัฏฐาภิรักษ์, 64(3), 32-47. https://so05.tcithaijo.org/index.php/ratthapirak/issue/view/17491

รัศมี ศรีนนท์, อุดมกฤษฏิ์ ศรีนนท์, วิภารัตน์ ยมดิษฐ์ และกรรณิการ์ กิจนพเกียรติ. (2561). การจัดการเรียนรู้เชิงรุก ในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 9(2), 331-343. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EdAd/article/view/193106

VR x HR ความสามารถของ VR เมื่อนำมาใช้ในการฝึกอบรม. (2562, 28 มีนาคม) HREX.asia. https://th.hrnote.asia/hrtech/190328-vrhr

สมัครสมร ภักดีเทวา และเอกนฤน บางท่าไม้. (2564). การเรียนรู้ยุคใหม่กับการเรียนการสอนออนไลน์ในสถาบัน อุดมศึกษา. วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช, 34(1), 1-18. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/stouj/article/view/250473

ACTIVE LEARNING. (ม.ป.ป.) ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. https://lic.chula.ac.th/grants/active-learning/

สุรพล บุญลือ. (2565). เมตาเวิร์สสำหรับการศึกษา: การเชื่อมต่อระหว่างจักรวาลนฤมิตรกับโลกความจริงของ การเรียนรู้ ที่จะก่อให้เกิดการเรียนรู้แบบดื่มด่ำ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ, 11(1), 9-16. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/NBU/article/view/258310

Aasekjær, K., Gjesdal, B., Rosenberg, I. & Bovim, L.P. (2022). Virtual Reality (VR) in Anatomy Teaching and Learning in Higher Healthcare Education. SPRINK LINK: How Can we Use Simulation to Improve Competencies in Nursing?, (117-129)

Freeman, S., Eddy, S. L., McDonough, M., Smith, M. K., Okoroafor, N., Jordt, H., & Wenderoth, M. P.(2014). Active learning increases student performance in science, engineering, and mathematics. PNAS Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America, 111(23), 8410-8415. https://doi.org/10.1073/pnas.1319030111

Jeffrey, R. Y. (2022, April 29). Can the Metaverse Improve Learning? New Research Finds Some Promise. EdSurge. https://www.edsurge.com/news/2022-04-29-can-the-metaverse-improve-learningnew-research-finds-some-promise