A Study of Analytical Thinking Skill and Learning Achievement By Phenomenon-based Learning In Social Studies Subject
Main Article Content
Abstract
The purposes of this study were to 1) compare upper secondary school students’ analytical thinking skills before and after using a phenomenon-based learning activity, and 2) compare upper secondary school students’ learning achievement before and after using a phenomenon-based learning activity. The sample group was randomized by using multi-stage random sampling method which included of 35 students in grade 11 at Wat Rajabopit School, who are now enrolled in the second semester of the academic year 2021. The research instruments consisted of 1) A Phenomenon-based learning lesson plan. 2) A test of critical thinking skills, and 3) A test of economic geography learning achievement. Percentage, means, standard deviation, and dependent samples t-test statistics were used to analyze the data.
The results were as follows:
1) The students learning by phenomenon-based learning activity had higher score in critical thinking skills after learning than before learning at .01 level of significance.
2) The students learning by phenomenon-based learning activity had higher score in learning achievement after learning than before learning at .01 level of significance.
Downloads
Article Details
References
ดวงจันทร์ วรคามิน, ปังปอนด์ รักอำนวยกิจ และยศวีร์ สายฟ้า. (2559, 15 กันยายน). การศึกษาความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์และการมีจิตสาธารณะเพื่อพัฒนาศักยภาพการเป็นคนดีคนเก่งของนักเรียนไทย. https://www.knowledgefarm.in.th/wp-content/uploads/ 2016/11/critical-thinking-and-civic-mindedness-on-thai-student.pdf
ตะวัน ไชยวรรณ และกุลธิดา นุกูลธรรม. (2564). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน : การเรียนรู้แบบบูรณาการเพื่อส่งเสริมความรู้ของผู้เรียนในโลกแห่งความจริง. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 15(2), 251-263.
ทัณฑธร จุ้ยสวัสดิ์. (2564). การวิจัยเชิงปฏิบัติการในการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน เรื่อง จลนศาสตร์เคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา]. ฐานข้อมูลงานวิจัย (DSpace at Burapha University), http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/209?mode=full
ธีระวัฒน์ เซิบรัมย์. (2564). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับเทคนิคคำถาม R-C-A ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนชุมชนไมตรีอุทิศจังหวัดนนทบุรี. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 13(1), 82-97.
ปรีดาวรรณ อ่อนนางใย. (2555). การสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถทางการคิดวิเคราะห์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]. http://ir.swu.ac.th/jspui/bitstream /123456789/993900/2/Preedawan_O.pdf
พณิดา เตชะผล. (2564). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยการประยุกต์ใช้การสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับปรากฏการณ์เป็นฐานที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์และเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารคุรุศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 3(1), https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edudru/article/view/248916/169924
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2543). วิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 8). สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
แพรวนภา โสภา, อนันต์ ปานศุภวัชร และถาดทอง ปานศุภวัชร. (2561). การพัฒนาการคิดวิเคราะห์โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น และเกมเรื่องระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์และสัตว์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารวิชาการ หลักสูตรและการสอนมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 10(28), 116.
วิภาพรรณ พินลา. (2561). แนวทางการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 30(1), 13-34.
ศูนย์ดำเนินงาน PISA แห่งชาติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). ผลการประเมิน PISA 2018 : บทสรุปสาหรับผู้บริหาร. ุสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.).
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2562). การจัดการเรียนรู้และการเรียนรู้ตามแนวทางของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน. ใน โชติมา หนูพริก (บ.ก.), รายงานการอบรมและสัมมนาการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับผู้มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ณ University of Helsinki ประเทศฟินแลนด์. (4-17)
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางสาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560). โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
หัสวนัส เพ็งสันเทียะ. (2563). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานที่มีต่อการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนควินทรวิโรฒ]. http://ir-ithesis.swu.ac.th /dspace/bitstream/123456789/1306/1/gs601130142.pdf
อนุเบศ ทัศนิยม. (2563). การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 รายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]. http://202.28.34.124 /dspace/bitstream/123456789/1084/1/61010556035.pdf
Bloom Benjamin S. et al. (1956). Taxonomy of Educational Objectives Handbook I: Cognitive Domain (17th ed). David Mackay.
Marzano Robert J. (2001). Designing A New Taxonomy of Education Objective. Corwin Press.