การพัฒนาความสามารถการเล่นเปียโนและความคงทนในการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการจำบทเพลงของ ฟรานเซส คลาร์ก วิชาดนตรีสากล สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

Main Article Content

สิวะฉัตร มีแย้ม
ไสว ฟักขาว

บทคัดย่อ

งของฟรานเซส คลาร์ก กับเกณฑ์ร้อยละ 70 2) ศึกษาความคงทนในการเรียนรู้โดยการใช้วิธีการจำบทเพลงของ ฟรานเซส คลาร์ก ของนักเรียน และ 3) ศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการใช้วิธีการจำบทเพลงของ ฟรานเซส คลาร์ก ของนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนพระหฤทัยดอนเมือง แขวงดอนเมือง เขตดอนเมืองกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 28 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม(Cluster random sampling) เครื่องมือในการวิจัยครั้งนี้ คือ 1) แผนจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการจำบทเพลงของ ฟรานเซส คลาร์ก 2) แบบวัดความสามารถในการเล่นเปียโน 3) แบบวัดความคงทนในการเรียนรู้ และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนรู้โดยใช้วิธีการจำบทเพลงของ ฟรานเซส คลาร์ก ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลวิจัยพบว่า : 1) นักเรียนมีความสามารถในการเล่นเปียโน หลังจากได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการจำบทเพลงของฟรานเซส คลาร์ก สูงกว่าเกณ์ร้อยละ 70 2) นักเรียนมีความคงทนในการเรียนรู้หลังการใช้วิธีการจำบทเพลงของ ฟรานเซส คลาร์ก และ 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการจำบทเพลงของ ฟรานเซส คลาร์ก ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
คำสำคัญ : ฟรานเซส คลาร์ก, วิธีการจำบ

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

นพรัตน์ เตชะวณิช. (2544). ความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกสิกรไทยที่มีต่อวารสารกิจการสัมพันธ์ วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตร

มหาบัณฑิต). สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ประเสริฐศักดิ์ ขำสิริ. (2556). ความหมายของดนตรี [ออนไลน์]. ได้จาก http://www.acn.ac.th/articles/mod/ forum /discuss.php?d=95. [สืบค้นเมื่อ 2 ธันวาคม 2563].

พรทิพย์ สายแวว. (2558). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้เรื่องโน้ตดนตรีสากลเบื้องต้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

พาสนา จุลรัตน์. (2563). จิตวิทยาการรู้คิด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์

สุชัณษา รักยินดี และณัฐรดี ผลผลาหาร. (2557). ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาดนตรี (ศูนย์ดนตรี). วิจัยในชั้นเรียน. โรงเรียนอัสสัมขัญธนบุรี.

อติพร ศงสภาต. (2554). การพัฒนารูปแบบการสอนเพื่อส่งเสริมการจำบทเพลงสำหรับนักเรียนเปียโน อายุ 11-12 ปี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,สาขาดนตรีศึกษา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Adams, J. A. (1967). Human Memory. New York: McGrew-Hill Book Company.

Chronister, R. (2005). A Piano Teacher’s Legacy. New Jersey: The Frances Clark Center for Keyboard Pedagogy.

Chen, Yieng Chyi. (2013). A comparison of the Music tree, Piano adventures, and Hal Leonard student library for beginning piano teachers. Doctoral dissertation. University of Alabama.

Clark, F. (1992). Questions and Answers Practical Advice for Piano Teachers. The United States of America: The Instrumentalist.

Jesselson, R. (2009). Tips for Memorizing Music, Part One. [Online]. Available from: http://www.music.sc.edu /articles/ASTA%20article%20on%20. [Accessed 2 september 2020].

Johana Kolčavová. (2014). Frances Clark The music tree. Czech: Janáček Academy of Music and Performing Arts in Brno Faculty of Music.

McKinney, K. and Heyl, B. (2013). Sociology Through Active Learning: Student Exercises (2nd Ed.). London: Sage Publication.

Ormrod, J. E. (2012). Human Learning (6th Ed.). New Jersey: Pearson Education.

Parncutt, R. and McPherson, G.E. (2002). The Science & Psychology of Music Performance. New York: Oxford University Press.

Shockley, R. P. (1980). An Experimental Approach to The Memorization of Piano Music with Implications for Music Reading. Doctoral dissertation. University of Colorado.